Page 17 - คู่มือการปฎิบัติงานปราบปรามการกระทำผิดเกี่ยวกับน้ำมันเชื้อเพลิง
P. 17
้
“แก๊ซโซฮอล์” เป็นนามันท่เกิดจากการผสมของนามันเบนซินกับเอทานอลท่ม ี
ี
�
ี
้
�
ี
ความบริสุทธ์ 99.5 % หรือเอทิลแอลกอฮอล์ซ่งเป็นแอลกอฮอล์บริสุทธ์ท่ผลิตได้จาก
ึ
ผลผลิตทางการเกษตร ผ่านกระบวนการหมัก กล่นและทาให้บริสุทธ์ โดยนามาใช้เพ่อ
ั
ื
�
ิ
�
ึ
ทดแทนสาร MTBE (Methyl Tertiaryn Butyl Ether) ซ่งเป็นสารท่ใช้ผสมในนามัน
�
ี
้
เบนซินเพื่อเพิ่มค่าออกเทน
�
ื
ื
�
ื
้
“น้ำมันเคร่อง” หมายความว่า นามันเช้อเพลิงหล่อล่น และผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมอ่น
ื
ที่ใช้หรืออาจใช้เป็นเชื้อเพลิงหรือสิ่งหล่อลื่น ตาม พ.ร.บ.การค้าน�้ามันเชื้อเพลิง พ.ศ.2543
มาตรา 4
“น�้ำมันหล่อลื่น” หมายความว่า น�้ามันหล่อลื่นเครื่องยนต์เบนซิน 4 จังหวะและ
ิ
ื
ี
เคร่องยนต์ดีเซลตามประกาศกรมทะเบียนการค้า ลงวันท่ 5 เม.ย. 2544 ข้อ 3 เร่ม 1
พ.ค. 2544
้
ิ
�
ี
ั
ื
่
้
ื
�
“น้ำมันเช้อเพลิงผิดกฎหมำย (เถ่อน)” คือ นามนทใช้เป็นเชอเพลงทุกชนด
ื
ิ
ี
ี
ท่ใช้แล้วเป็นเช้อเพลิงโดยผิดกฎหมาย หรือ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมทุกชนิดท่ใช้เป็น
ื
เชื้อเพลิงโดยผิดกฎหมาย
“เขตปลอดอำกร” ( Free Zone Area) คือ พื้นที่ที่อธิบดีกรมศุลกากรมีอ�านาจ
อนุมัติให้จัดตั้ง ตามมาตรา 136 แห่ง พ.ร.บ.ศุลกากร พ.ศ. 2560 โดยให้สินค้าที่น�าเข้า
(นามัน) เข้ามาในเขตดังกล่าว จะได้รับสิทธิประโยชน์ยกเว้นทางภาษีอากร ตามมาตรา
�
้
137 แห่ง พ.ร.บ.ดังกล่าว เช่น บริษัท ปตท. เป็นต้น
ื
ี
�
�
“น้ำมันเช้อเพลิงถ่ำยล�ำ” ( Transhipment Cargo ) คือ สินค้าท่นาเข้ามา
(น�้ามัน) เพื่อท�าการขนถ่ายเปลี่ยนยานพาหนะ (เรือ) เพื่อส่งออกไปยังต่างประเทศโดยใช้
รถยนต์บรรทุกน�้ามัน แต่ทั้งนี้ต้องไม่มีการใช้ประโยชน์ใดๆ ซึ่งน�้ามันนั้น หรือมีพฤติกรรม
ี
ื
ใดๆ เพ่อประโยชน์ทางการค้าเก่ยวกับนามันดังกล่าวในระหว่างการผ่านประเทศไทย และ
้
�
ไม่ต้องเสียภาษีอากรขาเข้า ตามมาตรา 102 แห่ง พ.ร.บศุลกากร พ.ศ.2560
1 บารเรล มีจํานวน
158.984 ลิตร
14 คู่มือการปฏิบัติงานปราบปรามการกระท�าผิดเกี่ยวกับน�้ามันเชื้อเพลิง