Page 54 - คู่มือการปฎิบัติงานปราบปรามการกระทำผิดเกี่ยวกับน้ำมันเชื้อเพลิง
P. 54
แนวทำงปฏิบัติในกำรขอรับเงินสินบนหรือเงินรำงวัลในคดีจับกุมผู้กระท�ำผิด
ว่ำด้วย :
• พ.ร.บ. การค้าน�้ามันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543
• พ.ร.บ. ควบคุมน�้ามันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2542
• พ.ร.บ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535
• พ.ร.ก. แก้ไขและป้องกันภาวะขาดแคลนน�้ามันเชื้อเพลิง พ.ศ.2516 และ พ.ศ.2547
หลักเกณฑ์กำรเบิกจ่ำยเงินรำงวัล และวิธีปฏิบัติในกำรขอรับเงินสินบนหรือ
เงินรำงวัลในคดีจับกุมผู้กระท�ำผิดตำม พ.ร.บ.กำรค้ำน�้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543
พ.ร.บ.ควบคุมน�้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2542 พ.ร.บ.วัตถุอันตรำย พ.ศ. 2535 และ
พ.ร.ก.แก้ไขและป้องกันภำวะขำดแคลนน�้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2516 และ พ.ศ.2547
(ใช้บังคับตั้งแต่ 1 ต.ค.2547)
เงินสินบน คือ เงินที่จ่ายให้แก่ผู้แจ้งความน�าจับ (สาย)
เงินรำงวัล คือ เงินที่จ่ายให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้ท�าการจับกุมหรือมีส่วนร่วมในการจับกุม
ผู้กระท�าผิดรวมถึงเจ้าหน้าที่ด�าเนินงานตามอ�านาจหน้าที่อันได้มาซึ่งเงินค่าปรับ ในกรณี
ไม่มีการจับกุมผู้กระท�าผิด
ผู้แจ้งควำมน�ำจับ คือ บุคคลเดียวหรือหลายคน ซึ่งน�าเบาะแสหรือเค้าเรื่องการ
กระท�าผิดมาแจ้งแก่ผู้รับแจ้งความน�าจับ จนสามารถจับกุมและลงโทษผู้กระท�าผิดได้ แต่ต้อง
มิใช่เจ้าหน้าที่ผู้จับหรือข้าราชการ หรือเจ้าพนักงานเจ้าหน้าที่กรมธุรกิจพลังงาน ผู้มีหน้าที่
ด�าเนินการตามกฎหมายในเรื่องนั้น
เจ้ำหน้ำที่ผู้จับ คือ ข้าราชการหรือพนักงานเจ้าหน้าที่กรมธุรกิจพลังงานผู้มีหน้าที่
ด�าเนินการตามกฎหมายในเรื่องนั้น และมีส่วนร่วมในการจับกุมผู้กระท�าความผิด หรือ
พนักงานฝ่ายปกครองหรือต�ารวจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ซึ่งมีหน้าที่
จับกุมผู้กระท�าผิด ส�าหรับกรณีที่มีการจับกุมผู้กระท�าผิด และให้หมายความรวมถึง
พนักงานเจ้าหน้าที่ด�าเนินงานตามอ�านาจหน้าที่อันได้มาซึ่งเงินค่าปรับนั้น ส�าหรับกรณีที่
ไม่มีการจับกุมผู้กระท�าผิดด้วย
ผู้รับแจ้งควำมน�ำจับ ได้แก่
1. อธิบดีกรมธุรกิจพลังงาน รองอธิบดีกรมธุรกิจพลังงาน
2. ผู้อ�านวยการส�านักความปลอดภัยธุรกิจก๊าซธรรมชาติ ผู้อ�านวยการส�านัก
ความปลอดภัยธุรกิจก๊าซปิโตรเลียมเหลว ผู้อ�านวยการส�านักความปลอดภัยธุรกิจน�้ามัน
คู่มือการปฏิบัติงานปราบปรามการกระท�าผิดเกี่ยวกับน�้ามันเชื้อเพลิง 53