Page 35 - รายงานประจำปี ออก. ปี 2564
P. 35
ั
แนวความคิดในการออกแบบสถาปตย ์
Modern Lanna เป็นแนวความคิดในการออกแบบ
อาคารเรือนรับรอง ถูกออกแบบโดยการดึงเอา
หลักการวางกลุ่มอาคารของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น
ประกอบกับอัตลักษณ์ของล้านนา ที่แสดงออกถึง
บริบทของพื้นที่ตั้งโครงการ น ามาประยุกต์ปรับเปลี่ยน
รูปแบบให้เข้ากับยุคสมัยปัจจุบัน
1. การวางกลุ่มอาคารของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น
เรือนรับรองหลังใหญ่ ถูกออกแบบ โดยแบ่งกลุ่มอำคำร
ตำมหลักคิดกำรวำง “เรือนแบบหมู่” ที่จะแบ่งกลุ่ม
อำคำรตำม Function กำรใช้งำน (อำคำรต้อนรับ-
อำคำรจัดเลี ยง-อำคำรเรือนรับรอง) และเชื่อมต่อด้วย
พื นที่ส่วนกลำง หรือทำงสัญจร เพื่อให้เกิดควำมเป็น
ส่วนตัวของกำรใช้งำนแต่ละพื นที่
2. น าอัตลักษณ์ของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นแบบล้านนา
มาประยุกต์ใช้
สถำปัตยกรรมแบบล้ำนนำ ที่สังเกตเห็นได้ทั่วไปจะมี
ลักษณะ “สง่ำ สงบ” รำยละเอียดจะแฝงด้วยควำมเชื่อ
และกำรใช้ชีวิตของคนท้องถิ่น ที่แสดงถึงควำมเรียบง่ำย
ถ่อมตน จึงถอดกำรออกแบบอำคำร ตำมอัตลักษณ์
ดังกล่ำว ผสำนกับกำรท ำให้ดูทันสมัยขึ น เพื่อส่งเสริม
ภำพลักษณ์ขององค์กร และตัววัสดุที่คงทน ถำวร
• รูปทรงเรือนรับรองฯ จะถูกออกแบบกำรมองเห็นจำก
ภำยนอก หลังคำมีสัดส่วนใหญ่คลุมตัวอำคำรที่เตี ย
เพื่อแสดงถึงควำมสง่ำ สงบเสงี่ยม และดูถ่อมตน
• องค์ประกอบสถำปัตยกรรมพื นถิ่นมำใช้ในกำรตกแต่ง
องค์อำคำร เช่น กำรกรุไม้ฝำ กำรแต่งค้ำ ยันบริเวณ
ชำยคำ หรือกำรออกแบบระแนง บริเวณทำงเดิน
เชื่อมระหว่ำงกลุ่มอำคำร โดยถอดลักษณะจำก
“ควั่น” (ฝ้ำไม้ไผ่สำนโปร่งส ำหรับใช้เก็บของที่พบ
เห็นได้ในเรือนภำคเหนือ) เป็นต้น
• วัสดุที่ใช้ส่วนใหญ่เน้นกำรแสดงสัจจะวัสดุเพื่อแสดงถึง
ควำมเป็นธรรมชำติ ตรงไปตรงมำ เช่น อิฐมอญ/ไม้/
พื นคอนกรีตเปลือย
28