Page 37 - รายงานประจำปี ออก. ปี 2564
P. 37
ศูนย์การเรียนรู้ กฟผ. แม่ออน
แนวคิดในการออกแบบ
ั
สถาปตยกรรม
แนวควำมคิดในกำรออกแบบอำคำรศูนย์กำรเรียนรู้ กฟผ.
แม่ออน คือ กำรน ำเวลำ 2 ยุคสมัยมำบรรจบกัน โดยแสดงออก
ผ่ำนทำงลักษณะของสถำปัตยกรรม ที่มีควำมเป็นอำคำรสมัยใหม่
มีภำพลักษณ์ของยุคสมัยปัจจุบัน อยู่ร่วมกันกับอัตลักษณ์ท้องถิ่น
เมืองเชียงใหม่ ซึ่งเป็นตัวแทนประวัติศำสตร์อันยำวนำนของสถำน
ที่ตั งอำคำรแห่งนี
Modern :
ลักษณะของอำคำรสมัยใหม่ มักจะมีกำรใช้วัสดุประเภทคอนกรีต
เหล็ก อลูมิเนียม และกระจกเป็นส่วนประกอบ รูปทรงของอำคำร
มีเส้นสำยที่ค่อนข้ำงเรียบง่ำย ลดทอนรำยละเอียดที่ไม่จ ำเป็น
Traditional Chiang Mai :
ส ำหรับภำพลักษณ์ของท้องถิ่นเมืองเชียงใหม่นั น ได้เลือกน ำเอำ
ลักษณะของก ำแพงอิฐที่ประตูท่ำแพมำใช้ นอกจำกจะเป็นภำพจ ำ
อย่ำงหนึ่งของเมืองเชียงใหม่แล้ว ก ำแพงเมืองอิฐยังสื่อถึงควำม
ปลอดภัย ควำมแข็งแรง ควำมมั่นคง สอดคล้องกับพันธกิจของ
กฟผ. ที่มุ่งมั่นจะเป็นองค์กำรหลักเพื่อรักษำควำมมั่นคงทำงด้ำน
พลังงำนไฟฟ้ำของประเทศไทย
เมื่อน ำองค์ประกอบของสถำปัตยกรรม 2 ยุคสมัยมำ
รวมเข้ำด้วยกัน จึงได้กลำยมำเป็นอำคำรศูนย์กำรเรียนรู้แห่งนี
อำคำรมีรูปทรงที่เรียบง่ำยและวำงตัวไปในแนวรำบ
ด้ำนหน้ำของอำคำรคือก ำแพงอิฐที่สอดแทรกลวดลำยของก ำแพง
เมืองเชียงใหม่เอำไว้ ขณะที่ภำยในอำคำรเบื องหลังก ำแพงนั น คือ
พื นที่ส ำหรับกำรเรียนรู้เรื่องรำวมำกมำย ที่เกี่ยวข้องกับพลังงำน
ไฟฟ้ำ ตั งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน และยังจะพำผู้เข้ำชมทุกท่ำนมุ่ง
หน้ำไปหำอนำคตของพลังงำนไฟฟ้ำไปพร้อม ๆ กันอีกด้วย
30