Page 10 - ปรัชญา
P. 10
๗
กรมสามัญศึกษาในตอนนั้นกระทรวงธรรมการจึงมีหน่วยงานเพียง๓หน่วยคือกองบัญชาการกองตรวจการศึกษา
กรุงเทพ ฯ และกองสุขาภิบาลโรงเรียน
ี่
พ.ศ.๒๔๗๕ โรงเรียนฝึกหัดครูวัลบวรนิเวศ ได้ย้ายไปตั้งทพระราชวังสนามจันทร์ จ.นครปฐม
พ.ศ.๒๔๗๖ กำเนิดโรงเรียนฝึกหัดครูพิบูลสงคราม พษณุโลก และกอตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูประถมพาณิชย
ิ
่
การที่โรงเรียน พาณิชยการพระนคร
ั
ี่
พ.ศ.๒๔๗๗ ก็ย้ายกลับมาตั้งทกองพนทหารบกราบที่ ๖ ถนนพระนครศรีอยุธยาสถาน ที่นี้เดิมคือโรงทหาร
ซึ่งกระทรวงธรรมการได้รับโอนจาก กระทรวงกลาโหมโดยออกเงินซื้อและแก้ไขดัดแปลง ให้พอใช้เป็นโรงเรียน
้
ไดระหว่างนั้นกรมศึกษาธิการเป็นการสอนวิชาครูมัธยมตามระเบียบใหม่ที่สามัคยาจารสมาคมเพื่อช่วยเหลือให้ครู
ได้เลื่อนวิทยฐานะของตนการฝึกหัดครูในกรมมีประเภทต่างกัน ดังนี้ ครูมัธยม(ชาย) ครูประถม(ชาย)
ู
ครมูล(ชาย) ครูประกาศนียบัตร มณฑล(ชาย) ครูประถม(หญิง) ครูมูล(หญิง) ครูกสิกรรม(ชาย) ครูหัตถกรรม(ชาย)
ครูวาดเขียน(ชาย) ครูฝึกหัดต่างประเทศ(ชาย)
ั
ู
ี
ี
ึ
ั
ึ
ู
ี
พ.ศ.๒๔๗๙ กำเนิดโรงเรยนฝกหดครูนครปฐมโรงเรยนฝกหดครเทพสตรีโรงเรียนฝึกหัดครพระนครศรอยุธยา
และโรงเรียนฝึกหัดครูอุตรดิตถ์
พ.ศ.๒๔๘๐ กำเนิดฝึกหัดครูสวนสุนันทา
ู
ิ
พ.ศ.๒๔๘๒ ยุบกรมศึกษาธการโอนการฝึกหัดครไปยังกรมวิชาการและกำเนิดโรงเรียนฝึกหัดครูจันทรเกษม
พ.ศ. ๒๔๘๓ โอนโรงเรียนฝึกหัดครูไปกรมสามัญศึกษา และกำเนิดโรงเรียนฝึกหัดครูฉะเชิงเทรา
พ.ศ.๒๔๘๔ ย้ายโรงเรียนฝกหัดครูวัดบวรนเวศจากกองพันทหารราบท๖ ไปที่วังจันทรเกษม และเปลี่ยนชื่อ
ิ
ี่
ึ
เป็นฝึกหัดครูพระนครนอกจากนี้ได้มีการจัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูมัธยมขึ้นที่โรงเรียนเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์เพื่อขยาย
การศึกษาด้านการฝึกหัดครูเพอให้ครูมีวุฒิสูงขึ้นและได้จัดเป็นสหศึกษาด้วยต่อมาโรงเรียนฝึกหัดครูมัธยมได้ย้ายไป
ื่
รวมกับโรงเรียนฝึกหัดครูประถมพระนครและมีการเปิดแผนกฝึกหัดครูประถมขึ้นที่โรงเรียนบ้านเจ้าพระยากำหนด
หลักสูตร ๓ ปี รับนักเรียนชายที่สำเร็จชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
พ.ศ.๒๔๘๕ เมื่อวันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๔๘๕ ได้มีการเปิดโรงเรียนฝึกหัดครูมูลขึ้นในหลายจังหวัด ดังนี้
ิ
โรงเรียนฝึกหัดครูมูลชาย ที่จังหวัดเชียงใหม่ นครราชสีมา เพชรบุรี โรงเรียนฝึกหัดครูมูลหญิง ที่จังหวัดพษณุโลก
ลพบุรี สงขลา อุดรธานี โรงเรียนดังกล่าวจัดตั้งในโรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรจังหวัดและให้โรงเรียนฝึกหัดครู
สังกัดกองการฝึกหัดครู กรมสามัญศึกษา
พ.ศ. ๒๔๘๖ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแผนกครุศาสตร์ เป็นแผนกหนึ่งในคณะอักษรศาสตร์