Page 9 - ปรัชญา
P. 9
๖
พ.ศ.๒๔๖๐ กรมมหาวิทยาลัยสังกดกระทรวงศกษาธการ การฝกหัดครูมัธยมไปจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ึ
ึ
ิ
ั
พ.ศ.๒๔๖๑ โอนมากรมศึกษาธิการและ พ.ศ. ๒๔๗๑ โอนไปจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโดยให้เป็นแผนกหนึ่งในคณะ
อักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์
พ.ศ.๒๔๖๐ เปิดสอนหลักสูตรครูประถมกสิธรรม ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยด้วยเหตุที่ประทศไทย
เป็นประเทศเพาะปลูกการหาเลี้ยงชีพของราษฎรเป็นไปในทางกสิกรรมเป็นพื้นวิชากสิกรรมที่ได้จัดสอนใน
โรงเรียนในเวลานี้ก็มีบ้างแต่เป็นส่วนน้อยสมควรจะเริ่มจัดการสอนกสิกรรมให้กว้างขวางยิ่งขึ้นกระทรวงธรรมการ
จึงจัดตั้งการฝึกหัดครูกสิกรรมชั้นประถมตั้งแต่ พ.ศ.๒๔๖๐
พ.ศ.๒๔๖๑ เปิดสอนหลักสูตรครูมูลและครูประถมที่โรงเรียนมัธยมวัดบวรนิเวศ
- เปิดสอนหลักสูตรครูมัธยมที่โรงเรียนสวนกุหลาบ
- เปิดสอนหลักสูตรครูหัตถกรรมที่โรงเรียนเพาะช่าง
โรงเรียนฝึกหัดครูได้แยกสังกดกรมมหาวิทยาลัยไปขึ้นกับกรมศึกษาธิการและย้ายไปทำการสอนอยู่รวมกบ
ั
ั
โรงเรียนมัธยมบวรนิเวศ เรียกว่า โรงเรียนฝึกหัดครูวัลบวรนิเวศ
พ.ศ.๒๔๖๒ ตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูพละศึกษาที่โรงเรียนสวนกุหลาบเรียกชื่อว่า โรงเรียนพลศึกษากลาง
กำเนิดโรงเรียนฝึกหัดครูสงขลามีการประกาศใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ.๒๔๖๔ ทำให้มีความต้องการครู
ึ้
ที่ได้ฝึกหัดแล้วมีมากขนการแก้ไขเรื่องการขาดแคลนครูก็คือได้จัดให้มีการอบรมครูระหว่างเวลาโรงเรียนเปิดโดยให้
มีการสอนวิชาครูและวิธีสอนวิชาต่างๆ การอบรมเช่นนี้ สามารถช่วยบรรเทาเรื่องการขาดครูได้มากทีเดียว
พ.ศ.๒๔๖๕ เปิดโรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมนัดจังหวัดนครปฐมและกำเนิดโรงเรียนฝึกหัดครูนครสวรรค์
พ.ศ.๒๔๖๖ กำเนิดโรงเรียนฝึกหัดครูอุดรธานี
พ.ศ.๒๔๖๗ กำเนิดโรงเรียนฝึกหัดครูเชียงใหม่
(กระทรวงศึกษาธิการ กรมการฝึกหัดครู. ม.ป.ป.: ๙๖-๙๗; กำธร สถิรกุล. ๒๕๐๗: ๑๑๖-๓๐๗)
พ.ศ.๒๔๖๙ มีการจัดตั้งโรงเรียนกสิกรรมขึ้นที่จังหวัดราชบุรีซึ่งต่อมาคือวิทยาลัยครูเพชรบุรีและพระบาท
สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๗ ได้โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาโรงเรียนมหาดเล็กหลวงเป็นโรงเรียนวชิราวุธ
วิทยาลัย
พ.ศ.๒๔๗๑ได้เปิดแผนกฝึกหัดครูมัธยมขึ้นในคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ.๒๔๗๓ กำเนิดโรงเรียนฝึกหัดครูมหาสารคาม
ั
ื่
พ.ศ.๒๔๗๔ ปรับปรุงกระทรวงธรรมการเพอให้สอดคล้องกบภาวะเศรษฐกิจตกต่ำของประเทศ โดยยุบ