Page 4 - ปรัชญา
P. 4
๑
ประวัติศาสตร์การผลิตครูและวิวัฒนาการวิชาชีพครูของประเทศไทยที่เปลี่ยนแปลง
ตามบริบทของสังคมก่อนเป็นวิชาชีพครู
ี
ี
็
ิ
็
พฒนาการการเปลี่ยนแปลงที่เปนระบบระเบยบไปในทศทางท่ดและก้าวหนา โดยสามารถมองเหนได้อย่าง
ั
ี
้
ั้
ชัดเจน โดยพัฒนาการฝึกหัดครูไทยเริ่มตงแต่ปี พ.ศ.๒๔๓๕ จากนั้นไม่นาน ในปี พ.ศ.๒๕๑๔ ได้มีการจัดตั้งโรงเรียน
ฝึกหัดครูอย่างเป็นระบบ โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้า ฯ ครูผู้สอนในระยะแรก
คือ บุคลากรในกรมพระอาลักษณ ์
ในระยะแรกเริ่มของการจัดการฝีกหัดครูนั้นยังมีความขัดข้องในเรื่องของบุคลากรทางการศึกษา หรือครู
เนื่องจากครูในเวลานั้น ยังไม่มีความรู้ความชำนาญพอที่จะเป็นครูที่ดีตามแผนการศึกษาที่จะจัดจึงจำเป็นจะต้องจัดการ
ฝึกหัดครูเพื่อจะผลิตครูออกไปทำการสอนตามโรงเรียนต่าง ๆ พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นดำรงราชานุภาพ
ยังทรง บัญชาการกรมศึกษาธิการและมีพระดำริไว้แล้วว่าจะจัดการฝึกหัดครูแต่พระองค์ต้องย้ายไปเป็นเสนาบดี
กระทรวงมหาดไทยเสียก่อน (กำธร สถิรกุล. ๒๕๐๗: ๑๐๑)
ดำเนินการต่อมา โดยเจ้าพระยาภาสกรุวงศ์จัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูครั้งเเรก (โรงเรียนสายสวลีสัณฐาการ
หรือโรงเรียนเบญจมราชูทิศ) โดยมีอาจารย์ใหญ่เป็นชาวองกฤษอยู่ในสังกัดกรมศึกษาธิการเรียกว่า โรงเรียนฝึกหัด
ั
อาจารย์ จัดอยู่ในประเภทโรงเรียนที่สอนวิชาพิเศษ ประเภทโรงเรียนไปกลับ ได้รับการสนับสนุนจากทุนของ
รัฐบาล ในช่วงเเรกมีนักเรียน ๓ คน คือนายนกยูง วิเศษกุล (พระยาสุสินทราชา) นายบุญรอด เศรษฐบุตร
(พระยาภิรมณ์ภักดี) และนายสุ่ม เนื่องจากการศึกษานี้ยังไม่เป็นที่นิยมจึงเหลือผู้ศึกษาเพียงนายนกยูง ใน พ.ศ. ๒๔๓๖
ิ่
ี
มีนักเรียนเพมขึ้นใหม่อก ๓ ค น คือนายสนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา (เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี)
นายสก ผลพันธิน (หลวงสังขวิทย์วิสุทธิ์) และนายเหม ผลพันธิน (พระยาโอวาทวรกิจ) ในปลาย พ.ศ. ๒๔๓๗ นักเรียน
๓ คนสอบไล่ได้ประกาศนียบัตรเป็นครูสอนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สองคนนับว่าเป็นนักเรียนรุ่นเเรก
ที่มีการสอบไล่ได้ประกาศนียบัตรครูของกรมศึกษาธิการ ส่วนนายนกยูงได้ลาออกไปรับราชการเป็นครู ใน พ.ศ. ๒๔๓๘
นายสนั่น ก็ได้รับราชการตำแหน่งเป็นผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่และในปลายปีนั้น นายอิ. ยัง ตำเเหน่งอาจารย์ใหญ่
ลาออก นายสนั่น นายนกยูง นายเหลี่ยม และนายโพ้ ได้เป็นนักเรียนของกระทรวงศึกษาธิการออกไปศึกษา วิชาชีพครู
ณ ประเทศอังกฤษ ทำให้นาย ดับบัลยู.ย.ยอนสัน ได้เป็นอาจารย์ใหญ่แทน
ในพ.ศ. ๒๔๔๕ โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ย้ายไปที่ตึกแม้นนฤมิตร วัดเทพศิรินทราวาส (ปัจจุบัน) เรียกว่า
โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์เทพศิรินทร์และเนื่องจากความต้องการครูที่มีมากในช่วงนั้น พ.ศ. ๒๔๔๖ จึงมี
้
ั
การจัดตั้งโรงเรียนฝึกหดครูเพมขึ้นอกแห่งหนึ่งที่โรงเรียนราชวิทยาลัยเก่า (บ้านสมเด็จเจาพระยา คือ โรงเรียน
ี
ิ่