Page 87 - แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ.2566-2570
P. 87

72




                                      3) พัฒนาการท่องเที่ยวและบริการบนฐานภูมิปัญญาและวัฒนธรรม

                                                                                ิ
                                      4) เสริมศักยภาพของเมืองและพื้นที่เขตเศรษฐกิจพเศษชายแดนเพอรองรับการ
                                                                                             ื่
                     ขยายตัวทางเศรษฐกิจ และเอื้อต่อการอยู่อาศัย
                                      5) พัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิต เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนา

                     ผู้สูงอายุสู่การเป็นผู้สูงอายุที่มีศักยภาพ (Active Aging) และพัฒนาทักษะฝีมือแรงงาน
                                      6) อนุรักษ์และฟื้นฟูป่าต้นน้ำ พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำที่มีความสมดุล

                     ป้องกันและแก้ไขปัญหาหมอกควัน ปัญหาสิ่งแวดล้อมเมือง

                                2) กรอบแผนพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (พ.ศ. 2566 – 2570)

                                      ทิศทางการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือให้เป็น “ศูนย์กลางเศรษฐกิจ

                     ของอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง”
                                  แนวทางการพัฒนา

                                      1) พัฒนาภาคเกษตรไปสู่เกษตรสมัยใหม่เพื่อต่อยอดไปสู่เศรษฐกิจชีวภาพ

                                      2) บริหารจัดการน้ำให้เพียงพอเพื่อรองรับการพัฒนา
                                      3) พัฒนาผลิตภัณฑ์พื้นถิ่นไปสู่มาตรฐานสากลเพื่อสร้างเศรษฐกิจในชุมชน

                                      4) พัฒนาเมือง เขตเศรษฐกิจพิเศษและเมืองชายแดน รวมทั้งพื้นที่ระเบียง
                     เศรษฐกิจภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (NeEC-Bioeconomy) ให้เป็นพื้นที่เศรษฐกิจหลักของภาค

                                      5) พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวสำคัญและแหล่งท่องเที่ยวชุมชนให้ได้มาตรฐาน

                                      6) ยกระดับคุณภาพชีวิตให้ได้มาตรฐานและแก้ปัญหาความยากจนให้กับผู้มี
                     รายได้น้อย เพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม


                                3) กรอบแผนพัฒนาภาคกลาง (พ.ศ. 2566 – 2570)
                                   ทิศทางการพัฒนาภาค ภาคกลางถือว่าเป็นหัวใจหลักสำคัญของการพัฒนาประเทศ

                     มุ่งพัฒนาเป็น “ฐานการผลิตสินค้าและบริการมูลค่าสูง”
                                  แนวทางการพัฒนา

                                    1) พัฒนาและยกระดับภาคกลางไปสู่การเป็นฐานอตสาหกรรมขั้นสูงที่ใช้เทคโนโลยี
                                                                              ุ
                     และนวัตกรรมที่สามารถออกแบบและพัฒนาขึ้นเอง
                                    2) พัฒนาและยกระดับภาคกลางไปสู่การเป็นแหล่งเกษตรสมัยใหม่และศูนย์รวบรวม

                     และกระจายสินค้าเกษตรของประเทศ

                                    3) พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวสำคัญและแหล่งท่องเที่ยวชุมชนให้เข้าสู่ตลาดท่องเที่ยว
                     คุณภาพ

                                    4) พัฒนาภาคกลางเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์และสุขภาพมูลค่าสูง

                                    5) พัฒนาการผลิตกำลังคนให้มีทักษะรองรับอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต




                      ---------------------------------------------------------------------------------
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92