Page 241 - เมืองลับแล(ง)
P. 241
ได้อธิบายถึง “พระญาใต้เจ้าสามตนเป็นใหญ่สะหรีโยธิยา” ตรงกับ สมเด็จพระบรมราชาธิราช ที่ ๒
27
(เจ้าสามพญา) ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่เรียกว่า “พระญาใต้” หรือ “พระญาบอร” ครองราชย์ พ.ศ. ๑๙๖๗
์
– ๑๙๙๑ หลังจากที่ท้าวลกพระราชโอรสองคที่ ๖ ของพระญาสามฝั่งแกนได้เข้าชิงราชสมบัติและราชาภิเษกท ี่
เมืองเชียงใหม่ใน พ.ศ. ๑๙๘๕ ทรงพระนามว่า “พระญาสรีสุธัมมติโลกราชะ” หรือ “พระญาติโลกราช”
28
เป็นกษัตริย์องค์ที่ ๙ แห่งราชวงศ์มังราย แล้วได้ส่งพระญาสามฝั่งแกน (พระราชบิดา) ไปอยู่เมืองสาด เมื่อทาว
้
ช้อย (ท้าวสิบ – พระราชโอรสองค์ที่สิบ) ผู้ครองเมืองฝางรู้ข่าวดังนั้นก็ได้ไปเชิญพระญาสามฝั่งแกนมาประทับท ี่
์
้
เมืองฝาง แล้วมีความประสงคจะชิงราชสมบัตถวายพระราชบิดาดังเดิม ซึ่งหมื่นคืยหานแตทอง (เจาเมืองนคร
ิ
่
้
ลำปาง) จะไปเชิญพระญาสามฝั่งแกนจากเมืองสาด เมื่อไปถึงเมืองสาดก็ไม่พบพระญาสามฝั่งแกน จงทราบว่า
ึ
ิ
ท้าวช้อยได้เชิญพระญาสามฝั่งแกนไปอยู่เมืองฝาง หมื่นลกสามล้านได้นำทัพไปยังเมืองฝางจึงเชญพระญาสาม
ฝั่งแกนกลับมายังเมืองเชียงใหม่ แต่ท้าวช้อยได้หนีไปยังเมืองเทิงแล้ว โดยมีหมื่นเชริงสามไขรหานเป็นเจาเมือง
้
เจ้าเมืองเทิงได้แต่งหนังสือไปให้สมเดจพระบรมราชาธิราช ที่ ๒ ยกทัพมาช่วย หมื่นเชริงสามไขรหานไดรบกับ
้
็
29
ทัพของหมื่นลกสามล้านจนพ่ายแพ้และถูกตัดหัวลอยแพไปยังทัพของฝ่ายอโยธยา ตรงกับ พระราช
พงศาวดารฯ ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ ว่า “ศักราช ๘๐๔ (พ.ศ. ๑๙๘๕) สมเด็จพระบรมราชาธีราชเจา
้
เสด็จไปเอาเมืองเชียงใหม่ แลเข้าปล้นเอาเมืองมิได้ พอทรงประชวรแลทัพหลวงเสด็จกลับคืน”
30
่
เมื่อพิจารณาจากตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ไม่พบว่ามีการเอ่ยชื่อเจ้าเมืองเทิงว่า “ขุนแส” ตามตำนาน
พระเจ้ายอดคำทิพย์เลย บอกแต่ชื่อว่า “หมื่นเชริงสามไขรหาน”
เนื้อความที่ ๑๑
ตนพระยาไตรโลกะนารทเข้าบำราบนั่งเวียง พระญายุธิถิระตนนั่งเวียงเชลียง เอาใจออกห่างหักค่ายกม
ุ
พลชายหาญขึ้นนบไหว้ยังพระญาติโลกะมหาราชาเจ้าฟ้าฮ่ามตนเจ้าช้างเวียงพิงคณที ฝ่ายตนเป็นใหญ ่
เวียงไธยใต้หล้าสะหรีโยธิยาไตรโลก ขึงโขดโกธาสั่งตัดหัวเจ้ากรมการเวียงนับสิบ แลสั่งพลชายหาญล่า
ขึ้นตามตีเข้าเขตแคว้นแดนพระเจ้าเชียงใหม่ แต่บ่ทันหนีแตกคืน
ได้อธิบายถึงเมื่อสมเด็จพระบรมไตรโลกนารถได้ครองราชย์ที่กรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ.ศ. ๑๙๙๑ ในช่วง
ี
ิ
นั้นตำนานพระเจ้ายอดคำทพย์ได้บอกว่า “พระญายุธิถิระตนนั่งเวียงเชลยง” ซึ่งตามตำนานพื้นเมืองเชยงใหม่
ี
27 ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับ เชียงใหม่ ๗๐๐ ปี, ๒๕๓๙ หน้า ๖๒.
28 ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับ เชียงใหม่ ๗๐๐ ปี, ๒๕๓๙ หน้า ๖๐.
29 ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับ เชียงใหม่ ๗๐๐ ปี, ๒๕๓๙ หน้า ๖๑ – ๖๒.
30 ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม ๑, กรุงเทพฯ : กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร,
๒๕๔๒, หน้า ๒๑๔.
การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
หน้า ๙๑