Page 66 - เมืองลับแล(ง)
P. 66
ลับแลในสมัยรัชกาลที่ ๕ (พ.ศ. ๒๔๑๑ – ๒๔๕๓)
ั้
ู่
พ.ศ. ๒๔๑๗ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหัว โปรดเกล้าฯ ให้ตงข้าหลวงออกไป
้
ั
ื
้
ิ
ั
ชำระความรู้รายเมืองพไชย ด้วยกงสุลอังกฤษมีหนงสอส่งฟองจากพม่ามายงเจ้าพระยาภาณุวงษมหา
ื
ั
โกษาธิบดี (ท้วม บุนนาค) มีคน ๙ คน รบหนังสอเดินทางมาจากเมืองมะระแม่งมาถึงบ้านบางคาแขวง
ั
ิ
เมืองลับแล มีคนเอาปืนยงไล่ฟนแทง ถูกอาวุธตาย ๘ คน จึงรอดมา ๑ คน แล้วพวกผู้รายเอาทรพย ์
้
ั
37
ื่
สิ่งของไปจนสิ้น ชอผู้ร้าย
่
้
ั
กระทั่งใน พ.ศ. ๒๔๑๗ ใน ตนคำแปลหนงสือขดเมืองหลวงพระบาง ระบุชวงเดือน ๙ (ราว
ิ
ิ
ุ
เดือนสิงหาคม) พระยาศรีสุริยราชวรานวัตพพัฒนพิไชยอไภยพิรยพาหะ ผู้ว่าราชการเมืองพิไชย อ้างถึง
เสนาบดีเมืองหลวงพระบางมาถึงพระพไชยชมพล (ตำแหน่งมหาดไทยเมืองพไชย) ด้วยวันอังคารเดือน
ุ
ิ
ิ
เจ็ดขึ้นสองค่ำปีจอฉศก (ราวเดือนมิถุนายน) หลวงพชตภักดีแสนหลวง ตำแหนงผู้ว่าราชการด่านแม่
่
ิ
ิ
ิ
ู
่
นางลำพน (ด่านนางพน) กับหลวงฤทธิ์เดชะ ตำแหนงกรมการเมืองพไชย โดยหลวงวิชตคีรแสนหลวง
ี
ิ
ู
ผู้สำเร็จราชการ(เมือง)แม่นางลำพูน กับหลวงฤทธิเดชะจะขอกลบมาบ้านเมือง เจ้าเมืองนครหลวงพระ
ั
38
39
บางจึงได้ให้กลับมา จากเอกสารนแสดงว่า พระยาพชยฯ (ดิฐ) ได้ให้ หลวงวิชิตคีรีแสนหลวง
ั
ิ
ี้
่
ผู้ว่าราชการเมืองด่านนางพูนไปชวยราชการที่เมืองหลวงพระบาง เป็นเอกสารที่ทำให้ทราบว่าผู้ว่า
ราชการเมืองด่านนางพูนมีราชทินนามว่า หลวงพิชิตคีรีแสนหลวง
อีกทั้งใน ราชกิจจานุเบกษา พ.ศ. ๒๔๑๗ ใบบอกเมืองตาก ยังปรากฏนามของ หลวงวิชิตคิรี
ิ
ี
ี้
แสนหลวงเมืองด่านนางพูนจับผู้ร้ายที่หนีมาจากเมืองแพร่ หลวงวิชตคิรแสนหลวงผู้น เป็นผู้ว่า
ู
่
ราชการเมืองด่านนางพนคนที่เก่าที่สุดเท่าที่สืบค้นมามีคำว่า “แสนหลวง” ตอท้ายราชทินนาม “วิชต
ิ
ี
ี
ื่
ี
่
ู
ิ
คิร” เพยงคนเดียวในทำเนยบผู้ว่าราชการเมืองด่านนางพนทั้งหมด จึงนาเชอได้ว่า หลวงวิชตคิรแสน
ี
ื้
่
้
ุ
่
หลวง ผู้ว่าราชการเมืองดานนางพูนคนแรกสดเท่าที่สืบค้นได น่าจะเป็นคนพนเพเดิมที่อยเมืองดานนาง
ู่
พูน
37 ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๑ ตอนที่ ๒๘๘ วันอาทิตย์ เดือน ๑ ขน ๑๒ ค่ำ ปีจอ ฉศก ๑๒๓๖ แผ่นที่ ๓๒.
ึ้
38 ราชกิจจานุเบกษา (๒๔๑๗-๒๔๑๘). ต้นคำแปลหนังสือขดเมืองหลวงพระบาง.
็
ุ
39 พระยาศรีสุริยราชฯ พระยาพิไชย นามเดิม ดิฐ เดิมเปนพระอตรดิตฐาภิบาล ตำแหน่งผู้ว่าราชการเมือง
ี่
ี่
อุตรดิตถ์ แล้วได้รับหน้าทเป็นนายทัพไปรบกับพวกฮ่อททุ่งเชียงคำ เมื่อถึงแก่อนิจกรรมแล้ว ทายาทได้รับพระราชทาน
นามสกุลว่า “ดิฐานนท์”
เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
หน้า ๕๔