Page 63 - เมืองลับแล(ง)
P. 63

่
                                        29
               ถึงพระยาแพร่ให้ชำระเลก  เป็นไปได้ว่าในระยะเวลากว่า ๒๗ ปี (ชวงรัชกาลที่ ๓ – รัชกาลที่ ๕) ยง
                                                                                                         ั
                                       ่
               มีการใช้ราชทินนามตำแหนง “แสนหลวง” สืบทอดมาอยู่เสมอ ซึ่งตำแหน่ง “แสนหลวง” เป็นตำแหน่งผู้
                                                                              ์
               ควบคุมกำลังพลตามแบบล้านนาปรากฏใน กฎหมายมังรายศาสตร   ซึ่งตำแหนง “แสนหลวง”
                                                                                            ่
                                                                               30
                                                   ่
               สามารถสันนิษฐานได้ว่าอาจเป็นตำแหนงดงเดิมของผู้นำชมชนเมืองดานนางพน [ที่มีเรื่องเล่าสืบต่อกัน
                                                     ั้
                                                                                    ู
                                                                            ่
                                                                   ุ
                                     ี
               มาว่ามาจากเมืองสระบุร ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๓๗๓]

               เมืองลับแล(ง) ในวรรณกรรม คร่าวสี่บท

                                                                  ่
                                                                     ่
                                                                            ื
                                 ิ
                                                                                 ่
                       จากประวัตของ พระยาพรหมโวหาร ผู้รจนา คราวสีบท หรอ คราวฮ่ำนางชม ได้บอกว่า เมื่อ
                                    ี
                                                   ่
                                                                                       ้
                                                                                                        ู่
               พระยาพรหมโวหารหนจากคุกเมืองแพรได้แล้ว ได้เดินทางออกจากเมืองแพรพรอมกับนางชมไปอยที่
                                                                                    ่
                                                                                               ี
                                                     ี
                     ั
               บ้านสนคอกควาย แขวงเมืองลับแลง มีอาชพเป็นพ่อค้าเร่ไปตามหมู่บ้านต่าง ๆ ส่วนนางสรชมก็อยู่บ้าน
                                                                                  ี้
                              ึ่
               ทอผ้า คราวหนงพระยาพรหมโวหารเดินทางออกจากหมู่บ้านไปทวงหน ไปได้ ๑๑ วัน จึงกลับมา
               ปรากฏว่าญาตของนางสรชมได้พากลับเมืองแพรแล้ว ครงนนพระยาพรหมโวหารรสึกเสียใจมาก ด้วย
                                                                                         ู้
                                       ี
                                                                     ั้
                                                                  ั้
                                                           ่
                             ิ
               ความหวาดกลัวในราชภัยจึงไม่อาจเดินทางไปตามหานางสรชมที่เมืองแพรได้ จึงได้แตง “คราวใช”
                                                                                                        ้
                                                                                              ่
                                                                                                    ่
                                                                       ี
                                                                                    ่
                                                       ั
                                                                    ื่
                       ่
               จำนวนสีฉบับหรือสี่ตอน พรรณนาถึงความรกความหลัง เพอชักชวนให้นางสรีชมกลับเมืองลับแลง แต       ่
                                                               ื
               ก็ไม่ปรากฏผลประการใดเพราะนางสรีชมนั้นไม่รู้หนังสอ นางจึงต้องนำคร่าวใช้ให้ผู้รู้ช่วยอ่านให้ฟัง เมื่อ
               ผู้รู้นนเห็นถึงความไพเราะจึงขอคัดลอกไว้ พระยาพรหมโวหารอาศัยอยที่บ้านสันคอกควาย แขวงเมือง
                   ั้
                                                                              ู่
               ลับแลง จนถึง พ.ศ. ๒๔๐๔ พระยาพรหมโวหารได้เดินทางไปรับราชการในราชสำนักของพระเจ้ากาวิโร
                                ี
                                                                                     ี
                    ิ
               รสสุรยวงศ์ฯ (เจ้าชวิตอ้าว) จนกระทั่งพระยาพรหมโวหารถึงแก่กรรมที่เมืองเชยงใหม่ ใน พ.ศ. ๒๔๓๐
               ขณะมีอายุได้ ๘๕ ปี
                                 31
                       จากประวัติของพระยาพรหมโวหารไม่ปรากฏว่ามาอาศัยอยู่ที่บ้านสันคอกควาย เมืองลับแลง ปี
                                                                                            ั
               ใด ทราบแตเพยงว่าออกจากเมืองลับแลไปอยเมืองเชยงใหม่ พ.ศ. ๒๔๐๔ (ตรงสมัยรชกาลที่ ๔) อัน
                                                         ู่
                                                               ี
                          ่
                             ี
               เป็นปีที่ เจ้ากาวิโรรสสุริยวงศ์ ผู้ครองนครเชียงใหม่ ได้รับโปรดเกล้าฯ จากรัชกาลที่ ๔ ให้มีตำแหน่งเป็น
               “พระเจ้าฯ ผู้ครองนครเชียงใหม่” จึงไม่ทราบว่าพระยาพรหมโวหารไปมาพำนักที่เมืองลับแลกี่ปี แต่จาก
                                                                       ้
                                                                                                        ั
               การเทียบเคียงนิทานเมืองลับแลว่าด้วยเมืองแม่หม้าย เป็นไปไดว่า เรื่องราวของพระยาพรหมโวหารกบ
                                                  ่
                                                                                                 ั
               นางสรชมอาจถูกเล่าสืบทอดในกลุ่มชางซอเมืองลับแลจนเกิดเป็น “วาทกรรมผิดฝาผิดตว” ให้เกิด
                      ี
                                                                                             ี้
                                                                    ู
               นทานเรองเมืองลับแลเป็นเมืองแม่หม้าย เป็นเขตห้ามพดโกหก ซึ่งแม่หม้ายในที่นอาจหมายถึง
                 ิ
                       ื่

                       29  หจช., จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓ จ.ศ. ๑๒๐๙, เลขท ๒๙. สารตราเจ้าพระยาจักรีถึงพระยาพิชัยเรื่องให้มี
                                                                 ี่
               หนังสือถึงพระยาแพร่ให้ชำระเลก. อ้างใน ขวัญเมือง  จันทโรจนี. หน้า ๑๙๙.
                       30  ประเสริฐ  ณ นคร. มังรายศาสตร์. หน้า ๒.
                       31  อุดม  รุ่งเรืองศรี. หน้า ๒๑๐ – ๒๑๑.
                                          เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
                                                        หน้า ๕๑
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68