Page 58 - เมืองลับแล(ง)
P. 58
ี
ี
ในการยกทัพของไทยขึ้นไปตเมืองเชยงแสนใน พ.ศ. ๒๓๔๕ พระยาพไชย (โต) ผู้เป็นบุตรของ
ิ
ั
23
้
พระยาพไชยดาบหัก ได้ขึ้นไปรบด้วย จนได้รบสมญานามว่า ‘พระยาพิไชยเชียงแสน’ (ตนสกุล
ิ
ึ่
ี้
ั
ี
ี
ศรศรากร) เป็นไปได้ที่การได้รบสมญานามนก็เพราะเป็นทัพหนงที่ยกไปตเมืองเชยงแสนแตในการ
ี
่
ี
ั
ิ
์
่
เกณฑไพรพลหลังจากเมืองเชยงแสนแตก พ.ศ. ๒๓๔๗ มิได้บอกว่าพระยาพชัย (โต) ได้รบไพร่พลชาว
เชียงแสนลงมาด้วย (แต่ไดถูกเกณฑไปกับทัพหลวงทางเมืองเถิน – เมืองตาก – เมืองกำแพงเพชรลงไป
้
์
้
ิ
ั
ุ
ี
ั
ุ
กรงเทพฯ (เส้นทางแม่นำปิง)) เพราะกองทัพสนบสนนจากเมืองพชยยกทัพกลับลงมาก่อนที่เมืองเชยง
แสนจะแตก
เมืองลับแลในสมัยรัชกาลที่ ๓ (พ.ศ. ๒๓๖๗ – ๒๓๙๔)
หลังจากนครเวียงจันทน์ถูกทัพสยามเข้าทำลายเมือง ในคราวสงครามเจ้าอนุวงศ์ พ.ศ. ๒๓๗๑
กองทัพสยาม (กรงเทพฯ) ได้กวาดตอนไพรพลชาวล้านช้าง จากนครเวียงจันทนและเมืองพวน เข้ามา
่
้
์
ุ
่
ู่
ี
อยภายในขอบขันฑสีมาของสยามโดยเฉพาะที่เมืองสระบุร จนในระยะเวลาตอมา พ.ศ. ๒๓๗๓ ชาว
ิ
ี
ั
ล้านชาง จากเมืองสระบุรได้ลักลอบหนขึ้นมายงบรเวณเมืองด่านซ้าย เพอจะกลับไปยงบ้านเมืองเดิม
ี
้
ื่
ั
ั
้
่
ของตน แตถูกทางการของสยามจับกุมไพร่พลเหล่านั้นไว้ได กระจายไปยงเมืองต่าง ๆ หนงในนนไดถูก
้
ึ่
ั้
ั
ควบคุมมาที่เมืองลับแล โดยมี พระลับแล (เจ้าเมืองลบแล) เป็นผู้ควบคุมเป็นวันฉกรรจ์ ๑๔ ครัว (คน)
ื้
24
และวัยอื่น ๔๑ คน รวม ๕๕ คน เป็นไปได้ที่กลุ่มชาติพันธุ์ลาวพวน ที่มาอยู่ในพนที่ลับแลจะเป็นกลุ่ม
ั
ิ
ชาตพนธุ์หนงที่ผสมรวมกับชาวไทยวนลับแล (ท้องถิ่น) [และจากคำบอกเล่าของชาวบ้านตำบลหัวดง
ึ่
บอกว่าบรรพชนของตนเดินทางมาจากเมืองสระบุรี ซึ่งน่าจะมีตำแหน่งทางการเมืองกับการก่อเกิดเมือง
ด่านนางพูนขึ้น]
ั
พ.ศ. ๒๓๗๙ พระลับแล เจ้าเมืองลับแล ได้รบคำสั่งจากราชสำนกกรุงเทพฯ ให้เกณฑ์ไม้ขอน
ั
สักลงไปกรุงเทพฯ
25
23 ทิว วิชัยขัทคะ. ประวัติพระยาพิชัยดาบหัก ต้นสกุล ‘วิชัยขัทคะ’.
24 “บัญชีครัวซึ่งข้าหลวงกรมการชำระได้และบอกลงมา จ.ศ. ๑๑๙๒” จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓ เล่ม ๕.
หน้า ๖๗ และ หน้า ๗๐.
25 จดหมายขอนไม้สักส่วย เมืองลับแล จ.ศ. ๑๑๙๘ เลขที่ ๒๕.
เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
หน้า ๔๖