Page 53 - เมืองลับแล(ง)
P. 53
เหตุการณ์ที่สำคัญอันเป็นหมุดหมายว่าชาวลับแลเป็นชาวไทยวนล้านนา จาก พระราชกำหนด
ั
เก่า พ.ศ. ๒๒๙๙ ในรชกาลสมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์ จากกรณีที่มีชาวบ้านป่าเผือก แขวงเมืองทุ่งยั้ง
มาลักควายของขนานทองบ้านน้ำใส แขวงเมืองลับแล จนเกิดเป็นการตรากฎหมายว่า ‘ความโจรผู้ร้าย
15
ให้ส่งไปพิจารณาที่เมืองเกิดเหตุ’
ั้
ู่
ด้วยเมืองทุ่งยงอยในเขตการปกครองของเมืองสวรรคโลก ส่วนเมืองลับแลอยในเขตการ
ู่
ิ
ิ
ี้
ปกครองของเมืองพชย การเกิดคดีความครั้งนจึงเป็นกรณีพพาทระหว่างเมือง สังเกตจากการเขียนใน
ั
้
พระราชกำหนดว่า “ขนานทองบ้านนำใส แขวงเมืองลับแล” ด้วยคำว่า ขนานหรอหนาน เป็นคำเรยก
ี
ื
บุรุษที่ผ่านการอุปสมบทหลังจากลาสิกขาในคำล้านนาเรียกว่า ขนานหรือหนาน ถ้าหากเป็นบุรุษในภาค
กลางจะเรียกว่า ทิด เป็นคำนำหน้าชอ [“ทิด” มาจากคำว่า “บัณฑิต” แปลว่า ผู้ร] ย่อมแสดงถึงการมี
ู้
ื่
ตัวตนของชุมชนชาวลับแลที่มีวิถีวัฒนธรรมแบบไทยวนล้านนาได้เป็นอย่างดี
ั
ู่
้
ื่
้
้
ุ
อีกทั้งชมชนบ้านนำใสและวัดนำใสยงปรากฏชอมาจนถึงปัจจุบัน เป็นหมู่บ้านที่อยใตสุดของ
เมืองลับแลเมื่อข้ามคลองแม่พร่องไปจะเป็นเขตของเมืองทุ่งยง จากการสำรวจสิงก่อสร้างพบว่ามีแนว
่
ั้
อิฐเก่าอยู่ทางทิศเหนือ ภายในวัดน้ำใสยังพบคัมภีร์ใบลานจารด้วยอักษรธรรมล้านนาจำนวนมาก
15 กฎหมายตราสามดวง ชำระ พ.ศ. ๒๓๔๗ ในรัชกาลที่ ๑. หน้า ๑๕๑ – ๑๕๖.
เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
หน้า ๔๑