Page 49 - เมืองลับแล(ง)
P. 49
ั
ั
ุ
ชยชนะ แล้วได้รบพระกรณาโปรดเกล้าฯ จากสมเด็จพระเจ้าบรมโกศ ให้เป็นพระยาสวรรคโลก
(พระยาสวรรคโลก ผู้นต่อมาได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น ออกพญาศรีราชเดชไชยท้ายน้ำ)
ี้
์
ุ
ิ
่
พระยาสวรรคโลกได้มาตรวจการเห็นวิหารรมพระแท่นศลาอาสนชำรด จึงขอพระบรมรา
ั้
ชานญาตบูรณะ แล้วมีตราขึ้นมาให้เมืองลับแล เมืองทุ่งยง ช่วยการบูรณะ เมื่อ พ.ศ. ๒๒๙๗ จน
ุ
้
สำเร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๒๙๘ ใชเวลาในการบูรณะ ๑ ปี ๒ เดือน จนในอีก ๓ ปีถัดมาคือ พ.ศ. ๒๓๐๑ ได้ทำ
14
จารึกติดไว้
ในการบูรณะพระวิหารพระแท่นศิลาอาสน์ของพระยาสวรรคโลก ผู้มีเชื้อสายล้านนานี้ หลังจาก
ุ
ุ
บูรณะพระวิหารพระแท่นฯ แล้วเสรจ อาจเห็นว่า พระวิหารวัดดอนสักชำรดทรดโทรมด้วย จึงให้
็
่
่
ชาวลับแลรวมบูรณะพระวิหารครอบคันธกุฎีวิหารที่มีลวดลายปูนปั้นประดับอยางสกุลชางล้านนาไว้
่
ุ
ี
แล้วอาจมีการสรางตงกระด้าง (ตงไม้สลัก) ถวายไว้ในพระวิหารวัดดอนสักด้วย เมื่อเปรยบเทียบ
้
ุ
์
ู
ั
ลักษณะของบานประตสลกของพระวิหารพระแท่นศิลาอาสนกับบานประตูพระวิหารวัดดอนสักจึงชวน
ให้คิดว่าเป็นสกุลช่างในรุ่นราวคราวเดียวกัน
์
ู
จะเห็นได้ว่าทั้งบานประตวิหารพระแท่นศลาอาสน เมืองทุ่งยง และบานประตรวมถึงลักษณะ
ั้
ิ
ู
ุ
สถาปัตยกรรมของวิหารวัดดอนสักแสดงให้เห็นถึงการมีชางฝีมือเป็นเอกอุแห่งกรงศรอยธยาในพนที่
ี
ุ
ื้
่
จังหวัดอุตรดิตถ์ ล้วนสะท้อนภาพอิทธิพลเชิงช่างในช่วงสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ (อยุธยาตอน
ปลาย) ได้เป็นอย่างดี
14 ประวัติศาสตร์อยุธยาจากจารึก : จารึกสมัยอยุธยา. หน้า ๕๖๕ – ๕๗๐.
เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
หน้า ๓๗