Page 73 - เมืองลับแล(ง)
P. 73
43
์
พ.ศ. 2430 กรมหมื่นสรรพสิทธิประสงค์ มีรบสั่งให้พระยาสุโขทัย เกณฑชางและควาญ
ั
้
้
์
ช้างเมืองขึ้นของเมืองพิชย โดยให้หมื่นศักดิบริบาลเป็นข้าหลวงขึ้นไปเกณฑ์ชางที่เมืองลับแล เมืองทุ่ง
ั
ุ
่
ยั้ง เมืองด่านนางพูน เมืองอตรดิตถ์ ให้เรงรีบคุมช้างไปส่งให้พระยาสุโขทัยกับพระภิรมย์ราชา ที่เมือง
ฝาง ในช่วงของการทำศึกปราบฮ่อ
44
็
หลังจากเสรจศกฮ่อแล้ว รชกาลที่ ๕ ทรงพระกรณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานบำเหนจ
ุ
็
ึ
ั
ื่
ั้
ุ
้
ความชอบ จึงให้กรมยทธนาธิการให้ส่งพระราชทานตราชางเผือกชนที่ ๔ ชอ ภูษนาภรณ์ ให้กับ
ื่
ั้
้
พระวิชิตคีรี ผู้ว่าราชการเมืองด่านนางพูน และตราชางเผือกสยามชนที่ ๕ ชอ ทิพยาภรณ์ ให้
45
่
้
พระพิศาลคีรี ผู้ว่าราชการเมืองลับแล [จะเห็นไดว่า มีการเปลียนราชทินนามเจ้าเมืองลับแลจาก
“พระลับแล” เป็น “พระพิศาลคีรี” แล้ว]
ั้
์
ั้
เมื่อออกจากเมืองทุ่งยงบริเวณวัดพระแท่นศิลาอาสน จนเวลา ๑๓.๓๐ น. ออกจากเมืองทุ่งยง
ถึงทุ่งนาแค, บ้านป่าเผือก, คลองแม่พร่อง, น้ำนนไหลมาจากห้วยแม่พรองแขวงลบแลไปออกคลองคอ
ั้
ั
่
้
ุ
ั
รมหนาเมืองพชยฝั่งตะวันตก ทุ่งนาดอนแขวงอุตรดิตถ์, ทุ่งนำใสแขวงลับแล, บ้านห้วยยาง, บ้านตน
้
้
ิ
ั
ขาม, วัดชายชุมพล, บ้านยางกะไดแขวงเมืองลับแล เวลา ๑๖.๐๐ น. ได้พกที่บ้านจีนทองอิน จากนั้นได ้
บรรยายถึงบรรยากาศของเมืองลับแลว่า
46
ี้
้
ในตำบลเมืองลับแลน มีตนไม้บรบูรณ์และมีไรนามากสินค้าในเมืองลับแล
ิ
่
ข้าว, หมาก, มะพร้าว, พลู, ทุเรียน, ลางสาด
ี่
ุ
วันศกร แรม ๘ ค่ำ เดือน ย จีนทองอินได้นำข้าพเจ้าไปเที่ยวดูตามละแวก
์
บ้านในแขวงเมืองลับแล มีตนผลไม้บริบูรณ์ และบ้านเป็นหมู่ ๆ ไป เป็นทุ่งนา ไปถึง
้
ู่
ั้
วัดม่อนตงอยบนเนนมีกระฎีวิหารโบสถ์แข็งแรง ได้ถามจีนทองอินผู้นำบอกว่าบ้าน
ิ
เป็นหมู่ ๆ ไปดังน อีกวันหนึ่งก็ไม่สิ้น
ี้
ี่
วันเสาร์ แรม ๙ ค่ำ เดือน ย เวลา ๑๐.๐๐ น. ออกจากบ้านยางกะไดไปถึง
วัดท่าถนนแขวงเมืองอุตรดิตถ์ ริมลำน้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก
ี่
43 หลังจากพระยาพิชัย (มิ่ง) ถึงแก่อนิจกรรมทเมืองหลวงพระบาง รัชกาลท ๕ ได้โปรดเกล้าฯ ให้ พระยา
ี่
์
ั
สุโขทย (ครุท ต้นสกุล หงสนันท) เปน ผู้รักษาราชการเมืองพิชัย กระทง พ.ศ. ๒๔๓๒ จ่าเร่งงานรัดรุด (เชย
็
ั่
กัลยาณมิตร) ได้รับโปรดเกล้าฯ เป็น พระยาศรีสุริยราชวรานุวัตรฯ รักษาราชการเมืองพิชัย
44 เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี. หน้า ๒๑.
45 เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี. หน้า ๔๓-๔๔.
46 เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี. หน้า ๗๘-๗๙.
เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
หน้า ๖๑