Page 139 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 139

ราชได้ยกทัพไปตีได้เมืองปากยม (พิจิตร) สันนิษฐานว่า
                                   พระเจาติโลกราชมีพระราชอำนาจเหนือดินแดนชาย
                                         ้
                                   ขอบขัณฑสีมาของอยุธยา (เมืองฝาง,เมืองทุ่งยั้ง (เมือง
                                   ลับแลเป็นส่วนหนึ่งของเมืองทุ่งยั้ง) พิษณุโลก,ปากยม)
                                                    พ.ศ. ๒๐๐๒                     โวหารตำนานพระเท่นศิลาอาสน์เมืองทุ่ง
                                   พระญาศรีธัมมาอโศกราช (พระเจ้าติโลกราช) เสดจมา ยั้ง พบที่ วัดท้องลับแล ตำบลฝายหลวง
                                                                            ็
                                   ตั้งทัพที่เมืองทุ่งยั้ง (อำเภอลับแล) ก่อนจะยกทัพไป อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดตถ์
                                                                                                       ิ
                                   เมืองสวรรคโลก (จากเนื้อความตอนนี้ยังคงแสดงให้
                                   เห็นว่าพระเจ้าติโลกราชมีพระราชอำนาจเหนือเมืองทง ุ่

                                   ยั้ง,เมืองเชลียง (เชียงชื่น,สวรรคโลก)

                                                                              ่
                                   อีกทั้ง จากการตรวจสอบจากกรมศิลปากร ระบุวา
                                                                              ั
                                   ลวดลายประติมากรรมประดับซุ้มโขงพระเจ้า วด
                                   ดอนสัก เป็นศิลปกรรมแบบล้านนา พุทธศตวรรษที่

                                   ๑๙ (ร่วมสมัยพระเจ้าติโลกราช แห่งล้านนา)
                                                    พ.ศ. ๒๑๐๖                     มหาราชวงษ์พงศาวดารพม่า

                                   พระเจ้าบุเรงนองได้ยกทัพไปบุกกรุงศรีอยุธยาในศก
                                                                              ึ
                                                                        ึ
                                               ุ
                                                                           ้
                                   ช้างเผือกเมื่อจลศักราช ๙๒๕ หลังจากเสร็จศกชางกับ
                                   กรุงศรีอยุธยาพระเจ้าบุเรงนองได้กรีธาทัพไปตีเมือง
                                   เชียงใหม่ผ่านทางอินทคีรี (เส้นทางด่านเขาพลึง เมือง
                                   ลับแล)  โดยสมเด็จพระมหาธรรมราชา เจ้าเมือง

                                   พิษณุโลก ออกญาสวรรคโลก และทัพแล็ดต่อไชย (ลบ
                                                                              ั
                                   แลงไชย) เข้าร่วมทัพในครานั้น
                                                    พ.ศ. ๒๑๖๑                     ลานธัมม์ มหานิพานสูตร พบที่วัดน้ำใส

                                                                             ี่
                                   พบใบลานอายุ ๔๐๔ ปี ซึ่งจารด้วยภาษาล้านนา ทวัด  ตำบลชัยจุมพล  อำเภอลับแล  จังหวัด
                                   น้ำใส ตำบลชัยจุมพล อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์   อุตรดิตถ์
                                                                              ั
                                   ถือเป็นใบลานที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่พบในพื้นที่เมืองลบ
                                   แล ซึ่งตรงรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอาทิตยวงศ์ แห่งกรุง

                                   ศรีอยุธยา
                                                    พ.ศ. ๒๑๗๙                     ลานธัมม์ นิไสยปาฏิโมกข พบที่วัดน้ำใส

                                   พบใบลานอายุ ๓๘๖ ปี ซึ่งจารด้วยภาษาล้านนา
                                                                                  ตำบลชัยจุมพล  อำเภอลับแล  จังหวัด
                                   ที่วัดน้ำใส ตำบลชัยจุมพล อำเภอลับแล จังหวัด    อุตรดิตถ์
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144