Page 143 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 143
เมืองบางโพ ๑ เมืองขุนกัน ๑ อยู่ลำน้ำพิชัยฝั่งตก ๒
ขึ้นเมืองพิชัย ๗ เมือง เมืองพิพัฒนขึ้นพิชัย ๑ เมือง
พิชัยเมืองตรี เจ้าเมืองชื่อ ออกญาศรีสุริยราชราชัยอภัย
พิรยพาหะ นา ๓๐๐๐ ขึ้นมหาดไทย ๑ เมืองพิมูล ขึ้น
พิชัย”1 สังเกตว่าในรายชื่อเมืองเหล่านี้ยังไม่ปรากฏ
ชื่อเมืองด่านนางพูน
เอกสารสักเลกไพร่สังกัด ที่พบในพื้นที่บ้านด่าน เมือง สมุดไทยดำหมายเลข ๑๐ พบทบ้านพ่อ
ี่
ลับแล พบคำว่า “บ่าวแพ บ่าวลับแล บ่าวขุนแพ่ง บ่าว ขาเนียม สังข์มูล บ้านเลขที่ ๘๘ ม.๖
เชีงใม้ย” ตำบลแม่พูล อำเภอลับแล จังหวัด
อุตรดิตถ์
คำว่า “บ่าวแพ” อาจหมายถึง ไพร่นั้นขึ้นสังกัดนายซึ่ง
เป็นชาวแพร่ที่อาศัยอยู่ในเมืองลับแล
คำว่า “บ่าวลับแล” หมายถึง ไพร่นั้นขึ้นสังกัดนายซึ่ง
เป็นชาวลับแล
คำว่า “บ่าวขุนแพ่ง” หมายถึง ไพร่นั้นขึ้นสังกัดนายซึ่ง
เป็นข้าราชการเมืองลับแล ตำแหน่งขุนแพ่ง
คำว่า “บ่าวเชิงไม้ย” หรือ บ่าวเชียงใหม่ เป็นการบอก
ให้ทราบว่าไพร่นั้นขึ้นสังกัดนายซึ่งเป็นชาวเชียงใหม่ท ี่
อาศัยอยู่ในเมืองลับแล สอดรับกับคำนำหน้าชื่อของ
ไพร่ที่สันนิษฐานว่าเป็นคนล้านนาเชียงใหม่ คือ ชาย
(ผู้ชาย) และ ยิง (แม่หญิง) ต่างจากคำนำหน้าชื่อของ
ไพร่ที่เป็นชาวเมืองลับแลดั้งเดิมที่ใช้คำเรียกตามอย่าง
สยามคือ นาย (ผู้ชาย) และ แดงหรืออำแดง (ผู้หญิง)
พ.ศ. ๒๓๙๕ จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๔ จ.ศ. ๑๒๑๔
รัชกาลที่ ๔ ทรงมีการตั้งชื่อเมืองใหม่ ในสังกัดเมือง เลขที่ ๑๒ กระดาษเพลา เรื่องเกณฑ์ชาง
้
พิชัยคือ “เมืองบางโพ” เป็น “เมืองอุตรดิตถ์” และใน ที่เมืองบางโพ กับ เลขที่ ๒๘ สมุดไทยดำ
้
ปีเดียวกันนี้ได้กล่าวถึง “พระลับแล ผู้ที่เคยเป็นเจา เรื่องส่วยทองแดงตรอนตรีสินธุ์
เมืองตรอนตรีสินธุ์”ทำให้เห็นความสัมพันธ์บาง
ประการระหว่างเมืองตรอนตรีสินธุ์กับเมืองลับแล พงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๔
พ.ศ. ๒๔๐๔ คร่าวสี่บท และ จารึกพระเจ้าไม้
พระญาพรหมโวหาร กวีเอกของล้านนาได้เดินทางออก
จากเมืองลับแลเพื่อไปรับราชการที่เมืองเชียงใหม่ในปี
นี้ สันนิษฐานว่าพระญาพรหมโวหารได้มาอาศัยอยู่ท ี่
เมืองลับแลเป็นช่วงระยะเวลาสั้น ๆ พบหลักฐานคอ
ื