Page 57 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 57
บ้าง เข้าค่ายไม่ทันวิ่งเลยไปบ้าง กองทัพไทยก็ปีนค่ายพังค่ายพม่าเข้าไปได้ทุกค่าย พม่าก็แตกไปแล้วยก
20
ทัพหลวงกลับมาที่เมืองเถิน
ุ
่
้
ี
เมื่อ พ.ศ. ๒๓๔๗ พระบาทสมเด็จพระพทธยอดฟาจุฬาโลก รัชกาลที ๑ เห็นว่าเมืองเชยงแสน
้
ี
ื
เป็นฐานทัพกำลังของพม่าที่จะยกมาโจมตเมืองไทยอยเนองๆ จึงโปรดฯ ให้ สมเด็จฯ เจ้าฟากรมหลวง
ู่
ั
เทพหรรกษ์ และพระยายมราช (บุญมา) พรอมด้วยกองทัพล้านนา ล้านชาง เข้าตเมืองเชยงแสน จน
้
้
ิ
ี
ี
ึ
ี
่
สามารถยดเมืองเชยงแสนได้สำเรจ แล้วแบ่งไพรพลเมืองเชยงแสนออกเป็น ๖ ส่วน มอบให้กับ
็
ี
ี
่
(๑) เมืองเชยงใหม่ (๒) เมืองนครลำปาง (๓) เมืองนาน (๔) เมืองแพร (๕) เมืองเวียงจันทน และ
่
์
ู่
ึ่
่
ิ่
(๖) อีกส่วนหนงนำลงไปกับทัพหลวงลงมาอยที่ คูบัว ราชบุร กับเสาไห้ สระบุรี โดยเรมนำไพรพลชาว
ี
เชียงแสนออกเดินทางในวันเสาร์ เดือน ๑๐ แรม ๑ ค่ำ พ.ศ. ๒๓๔๗
ู่
ฝ่ายเมืองแพร่ที่ไดรับไพร่พลชาวเชียงแสนมาอยในเมืองแพร และบริเวณเมืองรอบข้างใกล้เคียง
่
้
ู่
ึ่
ิ
กลุ่มชาวเชยงแสนกลุ่มหนงได้มาตงถิ่นฐานอยบรเวณเมืองมาน (เมืองมาน คือ บรเวณอำเภอสูงเม่น
ี
ิ
ั้
และ อำเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่)
ื่
ู
ี
เมืองมาน ปรากฏชอใน ตำนานวัดหลวงเมืองมาน ที่กล่าวถึง ชาวเมืองเชยงแสนนำโดยครบา
ี
นาย มาจากสบจัน ครบากวาว และครบาสุทธะไดนำชาวเชยงแสนอพยพเข้ามาอยบริเวณพนที่รกราง
ู่
ู
ู
ื้
้
้
้
่
พรอมทำการบูรณะพระประธานของวิหารและพระธาตุที่มีมาแตเดิม เมื่อ พ.ศ. ๒๓๓๐ จากตำนานวัด
ี
ี
ี้
หลวงเมืองมานนยงสอดรบกับ ตำนานคำมะเก่าเมืองเชยงแสน ที่ระบุว่า เชยงแสนแตกในปีน เพราะ
ั
ี้
ั
พญามังไชย เจ้าเมืองแพรและเจ้ากอง เจ้าฟาเมืองยอง ได้เข้าตเมืองเชยงแสนที่ตงมั่นของพม่าแล้วได ้
ี
ั้
ี
้
่
กวาดตอนผู้คนออกจากเมืองเชยงแสน เจ้าหลวงผู้ครองเมืองแพรจึงให้มาตงถิ่นฐานบรเวณพนที่ราง
ั้
้
่
้
ิ
ี
ื้
ั้
ตอนใตของเมือง เมื่อเข้ามาตงถิ่นฐานจึงทำการบูรณะวัดรางให้เป็นศนยกลางของเมืองมาน คือ “วัด
้
์
ู
้
หลวงเมืองมาน” หรอเรยกว่า “วัดพระหลวง” (ตำบลพระหลวง อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร) จึงถือว่า
ี
ื
่
ี
ิ
ชาวเชยงแสนที่มาอยในอาณาบรเวณเมืองแพร กลุ่มแรกคือ พ.ศ. ๒๓๓๐ ก่อนเมืองเชยงแสนแตก
่
ี
ู่
ี
ภายหลังจากเมืองเชยงแสนแตก พ.ศ. ๒๓๔๗ เจ้าหลวงเมืองแพรจึงให้ชาวเชยงแสนเข้ามาอยอีกครง
ู่
ั้
ี
่
ทำให้มีการขึ้นชอเมืองมานว่า “เมือง(เชียง)แสนหลวง” อันเป็นการบ่งบอกว่าชมชนกลุ่มนมาจาก
ุ
ื่
ี้
21
เมืองเชียงแสน นั่นเอง
ึ
และมีการจารกทำเนยบชื่อเมือง ใน ประชมจารึกวัดพระเชตพน พ.ศ. ๒๓๗๘ ระบุว่า “เมือง
ี
ุ
ุ
แพร่ เจ้าเมืองชื่อ พญาแพร่ราชวงศาประเทศราช ขึ้นกรมมหาดไทย, เมืองสรอง ๑, เมืองแสน
หลวง ๑ อยหนใต้เมืองแพร่ ขึ้นแพร่ ๒” ตรงกับสมัยที่เจ้าหลวงอินทวิไชยราชา เจ้าผู้ครองเมืองแพร ่
ู่
22
พ.ศ. ๒๓๕๙ – ๒๔๑๔
20 พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑. หน้า ๘๗ – ๘๙.
21 ภูเดช แสนสา. ชาวเชียงแสนย้ายแผ่นดิน. หน้า ๔๓ – ๔๗.
22 ประชุมจารึกวัดพระเชตุพนฯ. หน้า ๑๙๙.
เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
หน้า ๔๕