Page 620 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 620

๖.๒.๘ สมุดภาพปักปันเขตแดนสยาม ร.ศ.๑๒๔
                              ในสมุดภาพปักปันเขตแดนสยาม ร.ศ. ๑๒๔ ผู้ศึกษาพบว่า เส้นทางสำคัญของการเดินไปยัง
                                                                       ื
                                                                                             ่
               รัฐล้านนานั้นคือผ่านเขาพึงดังจะเห็นจากเนื้อความที่ปรากฏในหนังสอเล่มนี้ว่า “เขาพลึง เป็นสวนหนึ่งของทว
                                                                                                         ิ
               เขาปันน้ำ ตั้งอยู่ระหว่างอำเภอเมืองอุตรดิตถ์ กับอำเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ เป็นเส้นทางสำคัญที่ใช้เดินทางส ู่
               ภาคเหนือ”






































                                                     ภาพที่ ๘๘ เขาพลึง
                                      ที่มา : สมุดภาพปักปันเขตแดนสยาม ร.ศ.๑๒๔, น. ๓๗


                              ๖.๒.๙ จดหมายเหตุรายงานปราบเงี้ยว
                              จากจดหมายเหตุรายงานปราบเงี้ยว พ.ศ. ๒๔๔๕ นั้น มีการระบุถึงเส้นทางด่าน การไป
                                                                                                    ึ
               ปราบปรามกบฏเงี้ยวที่เมืองแพร่อยู่หลากหลายเส้นทางบ่อแก้ว (เส้นด่านนางพูน) เส้นทางเขาพลง และ
                                                               ้
                                                                                                 ั้
                                                                                     ั
               ช่องทางบ้านไฮ่ฮ้า ตำบลด่านนาขาม ซึ่งทั้งสามเส้นทางนี้ลวนแล้วแต่อยู่ในเขตเมืองลบแลเดมแทบทงสน ตาม
                                                                                                    ิ้
                                                                                           ิ
               แผนที่เส้นทาง ภาพที่ ๘๙







                                       การศึกษาเปรียบเทียบสมมุติฐานเมืองซาก (ทราก) ฯ
                                                        หน้า ๑๓๔
   615   616   617   618   619   620   621   622   623   624   625