Page 65 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 65
ลับแลในสมัยรัชกาลที่ ๔ (พ.ศ. ๒๓๙๔ – ๒๔๑๑)
ิ
ในสมัยรัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยหัว ทรงแปลงราชทินนามพระยาพชย
ู่
ั
ี
ิ
ิ
ุ
ใหม่ จากเดิมคือ “พระยาศรีสริยราชาไชยอภัยพริยภาหะ” เป็น “พระยาศรสุรยราชวรานวัตรพพฒนพ ิ
ั
ิ
ุ
ไชยอภัยพิริยภาหะ”
32
ั
ิ
ื่
ั้
เมื่อ พ.ศ. ๒๓๙๕ รชกาลที่ ๔ ทรงมีการตงชอเมืองใหม่ ในสังกัดเมืองพชัยคือ “เมืองบางโพ”
ุ
ั
เป็น “เมืองอตรดิตถ์” [ดูจาก จดหมายเหตรชกาลที่ ๔ จ.ศ. ๑๒๑๔ เลขที่ ๑๒ กระดาษเพลา เรอง
ื่
ุ
ื่
เกณฑช้างที่เมืองบางโพ กับ เลขที่ ๒๘ สมุดไทยดำ เรองส่วยทองแดงตรอนตรีสนธุ์] อันแปลว่า เมือง
์
ิ
ั
ท่าทางเหนือของรัฐสยาม ตามที่ในพระราชพงศาวดารสมัยรชกาลที่ ๔ บอกว่า “เมืองขึ้นกรม
มหาดไทย ยกบ้านบางโพเป็นเมืองอุตรดิตถ์” แล้วมีผู้ว่าราชการเมืองเป็นตำแหนงในราชทินนาม
33
่
34
“พระอุตรดิษฐาภิบาล”
35
ี้
ุ์
้
และในปีเดียวกันนไดกลาวถึง “พระลับแล ผู้ที่เคยเป็นเจ้าเมืองตรอนตรีสินธ” ทำให้เห็น
่
ความสัมพันธ์บางประการระหว่างเมืองตรอนตรีสินธุ์กับเมืองลับแล
่
ุ
ั
ิ
ื่
ั
ในสมัยรชกาลที่ ๔ ยงปรากฏนาม เมืองลับแล ใน ประกาศพธีตรศ แตยงไม่ปรากฏชอ
36
ั
เมืองด่านนางพูน ในเอกสารฉบับน ี้
32 พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ สมัยรัชกาลที่ ๔ “ทรงตั้งและแปลงนามเจ้าเมืองกรมการ”. หน้า
๒๒๒.
33 พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ สมัยรัชกาลที่ ๔ “เมืองที่ทรงตั้ง”. หน้า ๒๐๙.
34 พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ สมัยรัชกาลที่ ๔ “ทรงตั้งและแปลงนามเจ้าเมืองกรมการ”. หน้า
๒๒๒.
35 ร่างสารตราลำดับ ๓ ตอบเมืองพิชัยเรื่องส่วยทองแดงตรอนตรีสินธุ์ พ.ศ. ๒๓๙๕.
36 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสมมติอมรพันธุ์. ประกาศพระราชพิธี เล่ม ๑. พ.ศ. ๒๔๕๙. หน้า ๑๕๑ –
๑๕๔.
เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
หน้า ๕๓