Page 68 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 68
กระทั่งเมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๐ ได้มีตราตงให้ หลวงโยธาภกดี เป็น พระวิเชียรคีรี ผู้ว่าราชการ
ั้
ั
ั
เมืองด่านนางพูน ถือศกดินา ๑๐๐๐ บังคับบัญชาปลัด ยกกระบัตร กรมการและราษฎรในเขตแดน
ี
ู
40
เมืองด่านนางพน [ในกำกับการของพระยาศรสุรยราชวรานวัตรฯ เมืองพชย ] แทน หลวงวิชิตคีรี
ิ
ั
41
ุ
ิ
ั
แสนหลวงคนเดิม (สนนษฐานว่าเป็นคนพนที่,เจ้านายเดิม) สังเกตว่า ผู้ว่าราชการเมืองดานนางพนที่
่
ื้
ิ
ู
ได้รับการแตงตั้ง เมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๐ น มีบรรดาศักดเป็น “พระ” ซึ่งจากเดิมมีบรรดาศกดิ์เป็น “หลวง”
ิ์
ี้
ั
่
ทำให้เห็นว่า ราชสำนักกรุงเทพฯ (ส่วนกลาง) ได้ให้ความสำคัญกับ เมืองด่านนางพูนมากขึ้นกว่าแต่ก่อน
่
ในเอกสารใบบอกเมืองสวรรคโลก พ.ศ. ๒๔๒๘ ไดกลาวถึงเขตแดนของเมืองด่านนางพน จรด
ู
้
42
ไปถึงห้วยแม่ระนาง
เมืองด่านนางพูน ปรากฏในใบบอกพระยาสวรรคโลก พ.ศ. 2428
ระบุถึงเขตเมืองด่านนางพูน เมืองทุ่งยั้งและเมืองด้ง
40 กองจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร. หน้า ๖๖ – ๖๗.
41 พระยาศรีสุริยราชวรานุวัตรฯ พระยาพิชัย (มิ่ง) เปนผู้ว่าราชการเมืองพิชัย ถึงแก่อนิจกรรม พ.ศ. ๒๔๒๘
็
ครั้งไปเป็นนายทัพศึกฮ่อเมืองเชียงคำ แล้วเป็นข้าหลวงใหญ่เมืองหลวงพระบาง
42 ใบบอกเมืองสวรรคโลก พ.ศ. ๒๔๒๘เลขที่ ๑๕ ม๒.๑๒ก/๗ หน้า ๕๒
เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
หน้า ๕๖