Page 674 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 674
ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับวัดพระงาม จ.ศ. ๑๒๑๖
ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับของ ดร.ฮันส์ เพนธ์ จ.ศ.๑๒๘๘
คำอ่านปริวรรต : เจาเหนิอหวแว้อยู่กองหานไพรบชาวชคราวได้ชาวชคราวออกมาหันแล
คำอ่าน : “เจ้าเหนือหัวแว่อยู่กองหานไปรบชาวชคราวได้ชาวชคราวออกมาหั้นแล”
ั
ที่มา : ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบบวัดพระงามเชียงใหม่ จ.ศ.๑๒๑๖
ความสำคัญ : ปรากฏคำว่า “กองหาน” เป็นสถานที่ซึ่งพระเจ้าติโลกราชแวะหยุดทัพ แล้วจึงเสด็จไปรบจนมีชัย
ชนะเหนือชาวชะคราว ได้ชาวชคราวออกมาสวามิภักดิ์ เมื่อครั้งเดินทัพกลับเมืองเชียงใหม่พร้อมกับพระญายุทธิษฐ ิ
ระ เจ้าเมืองสองแคว
พิจารณาภูมิประเทศ : เมื่อเดินทางผ่านดานกำแพงอิฐเขามายังตัวเมืองลับแลจะตองผาน “กองหิน” หรือ “เขา
่
้
้
่
กองหิน” ในพื้นที่ของตำบลฝายหลวง ซึ่งมีลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาทประกอบด้วยก้อนหินขนาดน้อยใหญ่ทบ
ั
ี่
ี
ซ้อนกัน ด้านล่างเขามี ร่องเขา ลำห้วย หรือ วังน้ำ ที่แทรกผ่านระหว่างภูเขาหินนี้ และชาวบ้านที่อยู่ในพื้นท่ยัง
๊
เรียกร่องเขานี้ว่า “คับช้าง” (ออกเสียงแบบล้านนาว่า กั๊บจาง) เพราะในอดีตคือเส้นทางเดินเท้าและช้างของ
ชาวเมืองลับแล ซึ่งน่าจะเป็นพื้นที่เดียวกับ กองหาน ในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ที่พระเจาตโลกราชแวะหยุดทพ
ิ
ั
้
แล้วเสด็จไปรบจนชนะชาวชะคราว ได้ชะคราวมาเป็นเมืองขึ้นของพระองค์นั่นเอง
พิจารณาการเขียนคำว่า หิน : การเขียน ไม้กิ๋ หรือ สระอิ ในภาษาล้านนาจะอยู่ด้านบนของตัวพยัญชนะ ซึ่ง
ความสั้นยาวของหาง ไม้กิ๋ นี้ ขึ้นกับผู้จารว่าจะตวัดลงมามากน้อยอย่างไร ในการคัดลอกตำนานพื้นเมืองเป็นการ
้
บันทึกเชียงใหม่ต่อๆกันมา และเป็นการบันทึกย้อนหลังจากเกิดเหตุการณ์ขึ้นจริงหลายร้อยปี เปนไปไดว่าอาจเกิด
็
ความเข้าใจที่ผิดในการคัดลอก จากการตวัดไม้กิที่มีหางยาว ทำให้คิดว่าเป็นไม้ก๋า หรือสระอา
จากคำว่า หิน จึงกลายเป็นคำว่า หาน ก็เป็นได ้
ด่านของเมืองลับแล
หน้า ๓๗