Page 688 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 688
หมายเหตุ : เปรียบเทียบกับตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับวัดพระงามเชียงใหม่ จ.ศ.๑๒๑๖
คำอ่านปริวรรต : แลวไพตังทับยูข้างแมกลัง
คำอ่าน : “แล้ว ไปตั้งทัพอยู่ข้างแม่กลั้ง
ั
ที่มา : ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบบวัดพระงามเชียงใหม่ จ.ศ. ๑๒๑๖
ั
ข้อสังเกต : ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบบวัดพระงามเชียงใหม่ จ.ศ.๑๒๑๖ใช้คำว่า “กลั้ง” ส่วนในตำนานพื้นเมือง
ั
เชียงใหม่ ฉบบ จศ.๑๒๘๘ จาก ดร.ฮันส์ เพนธ์ สะกดว่า “กั้ง” ไม่มีตัว “ล” ซึ่งตรงกับคำเรียก “ห้วยกั้ง” ในพื้นท ี่
ปัจจุบัน
ความสำคัญ :
เจ้าเหนือหัว (พระญาติโลกราช) ยกริพลจากเมืองเชียงใหม่เพื่อมารับพระญายุทธิษฐิระเจ้าเมืองสองแคว
ั
่
ครานั้นพระองค์ได้มาตั้งทัพอยู่ที่เมืองทุ่งยั้ง เมืองฝาง (ตำบลผาจุก อำเภอเมืองอุตรดิตถ์) โดยให้จัดเครื่อง(จดเหลา
ทหาร) ได้สองหมื่นห้าพัน ชาวเชียงใหม่ได้ ๔ หมื่น ชาวต่างเมือง ๘ หมื่นเครื่องแล้วไปตั้งทัพอยู่ข้างแม่กั้ง (แม่กั้งคือ
ลำห้วยสายหนึ่งที่ไหลไปรวมกับน้ำแม่ริด ตำบลด่านนาขาม อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ พื้นที่บริเวณห้วยแม่กั้งนั้นเดิม
ี่
เป็นพื้นที่การปกครองของเมืองลับแล แล้วโอนเขตพื้นทขึ้นกับอำเภอเมืองอุตรดิตถ์ ในช่วงพ.ศ.๒๔๘๙- ๒๔๙๐)
่
ี่
็
้
ี่
ภายหลังจากทตั้งทพอยู่ทแม่กั้ง พระเจ้าติโลกราชไดเสดจเข้าอยู่ในเมืองสองแควเป็นเวลา ๒๐ วัน ในชวงเวลานั้น
ั
พระญาสองแควได้ชวนพระเจ้าติโลกราชไปรบตีเอาเมืองปากยมจนมีชัยและได้เมืองปากยม ผู้ปกครองเมืองปากยม
มีรูปงามนัก
อภิปรายความสำคัญ :
ในช่วงเวลาดังกล่าวพระเจ้าติโลกราชคงมีชัยหรือมีพระราชอำนาจเหนือดินแดนแถบนี้ คือ ทุ่งยั้ง เมืองฝาง
่
่
ี่
ั
แม่กั้ง(สันนิษฐานพื้นทเมืองลับแลบริเวณม่อนคีรีเมือง) สองแคว และปากยม ความในตำนานกลาวถึงการจดเหลา
ี
ทหารในกองทัพซึ่งมีทหารจากเชยงใหม่ และจากหลายเมือง กล่าวคืออาจมีทหารหรือคนจากเมืองอื่นสมทบ
เพิ่มเติมในภายหลัง หลังจากที่ทรงมีชัยเหนือดนแดนแถบนี้แล้ว ซึ่งทำให้พระองค์สามารถต้งทัพในพื้นที่ของเมือง
ิ
ั
ด่านของเมืองลับแล
หน้า ๕๑