Page 716 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 716

ข้อสังเกต :

               ไม่ว่าจะเป็นคำว่าบ้านหมุม หรือ BAMU น่าจะหมายถึง บ้านขมุ คือพื้นที่ที่ชาวขมุมาอาศัยอยู่ละแวกชายแดน
                                                                                                           ่
               เมืองแพร่กับเมืองอุตรดิตถ์ สอดรับกับข้อมูลชาวขมุก หรือชาวขมุ มารับจ้างทำไม้บริเวณชายแดนเมืองแพร่ตอ
               อุตรดิตถ์ในปี พ.ศ. ๒๔๓๐ และ พวกขมุที่บอกร่องรอยการเดินทางของพวกเงี้ยวแถวห้วยแม่ปาน

                       เป็นไปได้ว่าชาวขมุที่มารับจ้างทำป่าไม้บริเวณดังกล่าว จะกระจายอาศัยอยู่และรับจ้างทำงานในบริเวณ
               รอยต่อของทั้งสองพื้นที่ชายแดนแพร่และอุตรดิตถ์ เพราะจากการสืบค้นของนายมรุเดช ไทยดิตถ์ พบว่ามีชาวขมุท  ี่

                                         ี่
                                                                                                           ี่
                                                                                                  ิ
               เข้ามาเลี้ยงช้างอาศัยอยู่ในพื้นทบ้านน้ำไคร้ ตำบลด่านนาขาม อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ ซึ่งบริเวณนี้แต่เดมเป็นพื้นทใน
               เขตการปกครองอำเภอลับแล คำสัมภาษณ์ของนายดี  เครือพาน ผู้สูงอายุในพื้นที่ให้ข้อมูลว่า ตนเองสืบเชอสายมา
                                                                                                      ื้
               จากชาติพันธุ์ขมุ ซึ่งมารับจ้างทำไม้ตั้งแต่สมัยก่อนแล้ว และได้อพยพมาจาก สูงเม่น จังหวัดแพร่
                                                                                                          ิ
                                     ุ
                       นอกจากนี้ยังพบชมชนของชาวขมุที่มาเลยงช้างในบริเวณบ้านหาดงิ้ว ตำบลหาดงิ้ว อำเภอเมืองอุตรดตถ์
                                                        ี้
               จังหวัดอุตรดิตถ์





































                               ภาพนายมรุเดช ไทยดิตถ์ ขณะสัมภาษณ นายดี  เครือพาน เมื่อ พ.ศ. ๒๕๖๑
                                                                ์







                                                       ด่านของเมืองลับแล
                                                          หน้า ๗๙
   711   712   713   714   715   716   717   718   719   720   721