Page 74 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 74
ั
ุ
เวลา ๑๔.๐๐ น. หยดพกที่นนคืนหนง ที่เหนอวัดขึ้นไปตามลำนำนั้น เรยก
ั่
ื
้
ี
ึ่
บ้านท่าอิฐที่ตำบลนนมีเรอแพลูกค้ามาก เป็นทางที่สินค้าเมืองลับแล เมืองแพร ่
ื
ั้
เมืองนาน เมืองหลวงพระบาง และหัวเมืองอื่น ๆ และบ้านป่าดอนหลายตำบลมา
่
รวมอยู่ที่นั่น
กระทั่งเมื่อ วันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๓๓ พระวิชตคีร เจ้าเมืองด่านนางพน ได้รบ
ั
ิ
ี
ู
พระราชทานสัญญาบัตร ถาดหมาก คนโท เครองยศ (อยางที่มิเคยได้รบมาก่อน) และในปีนเองพระ
ี้
ื่
่
ั
ั
วิชตคีร เจ้าเมืองด่านนางพน ได้เข้าเฝ้า รชกาลที่ ๕ จึงดำรสถามพระวิชตภักดี ว่า ‘ ชาวเมืองนั้น
ั
ิ
ี
ิ
ู
์
เปนลาวฤๅไทย พระยามหาอำมาตยกราบทูลว่า เปนลาว (ล้านนา) มาก แล้วดำรัสถามว่าพระ
วิชิตคีรีเปนลาวฤๅไทย พระยามหาอำมาตยกราบทูลว่า เปนบุตรไทย ’ และ พ.ศ. 2435 พระ
์
ิ
วิชตคีรี ผู้ว่าราชการเมืองด่านนางพนได้รบพระราชทานเครืองราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรตยศยิ่งมงกุฎ
ิ
ู
่
ั
สยาม ชน ภัทราภรณ์ (จัตุรถาภรณ์มงกุฎไทย) การที่ราชสำนักส่วนกลาง (กรุงเทพฯ) สมัยรัชกาลที่ ๕
ั้
ู
ื่
่
ให้ความสำคัญกับเมืองดานนางพน ก็ด้วยเป็น “เมืองด่าน” ที่จะเชอมตอไปยังเมืองแพร่ หรือมีฐานะ
่
ิ
เป็นเมืองชายแดน/ชายขอบแห่งรฐสยาม อีกทั้งเจ้าเมืองด่านนางพน (พระวิชตคีร) คงมีบทบาทสำคัญ
ี
ั
ู
ในช่วงการศึกปราบฮ่อ จนเมื่อเสียดินแดนให้แก่ฝรั่งเศสคราววิกฤติการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖)
พ.ศ. ๒๔๓๕ (ร.ศ. ๑๑๑) สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้เสด็จมาถึงเมืองลับแล แล้ว
47
จีนทองอินได้จัดการรับรอง
้
ู่
เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๗ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจ้าอยหัว ได้จัดตั้ง มณฑลพิษณุโลก ขึ้น
เป็นมณฑลเทศาภิบาลแรกโดยรวบรวมเมือง ๕ เมือง คือ เมืองพิษณุโลก เมืองพิชัย เมืองสุโขทัย
ิ
่
เมืองสวรรคโลก เมืองพิจิตร ขึ้นในเขตของมณฑลพษณุโลก ทำให้ฐานะของแตละเมืองในมณฑล
่
พษณุโลกที่เคยจัดเป็นระดับหัวเมืองชนเอก – โท – ตร ได้ยกเลิกไปแล้วให้แตละเมืองในมณฑล
ิ
ั้
ี
้
ี้
พิษณุโลกมีฐานะเป็นเมืองอิสระเท่าเทียมกัน นอกจากนยังไดยกเลิกการปกครองหัวเมืองส่วนภูมิภาค
่
ระบบกินเมืองที่เจ้าเมืองเคยมีอำนาจและสามารถสืบทอดตำแหนงเจ้าเมืองโดยระบบสืบสกุล โดยที่
ั้
ื
่
พระองค์ได้โปรดเกล้าฯ แตงตงเจ้าเมืองหรอผู้ว่าราชการเมืองด้วยพระองค์เอง ซึ่งกิจการของผู้ว่า
ู่
ิ
ราชการเมืองจะต้องอยในการควบคุมดูแลอยางใกล้ชดของข้าหลวงเทศาภิบาลมณฑลพษณุโลก และ
ิ
่
มอบหมายให้ข้าหลวงเทศาภิบาลมณฑล ข้าราชการในกองข้าหลวงฯ รวมทั้งเจ้าเมือง นายอำเภอ
48
กำนัน และผู้ใหญ่บ้าน
47 สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. หน้า ๒๗๗.
48 นฤมล วัฒนพานิช. หน้า ๑๙๖-๑๙๙.
เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
หน้า ๖๒