Page 75 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 75
ื่
่
แม้แตใน ทำเนยบหัวเมือง ป. ๗๓๙ เอกสารรายชอเมืองและตำแหนง ในพระราชอาณาจักร
ี
่
49
สยาม พุทธศักราช ๒๔๓๙ ปรากฏชื่อ
“เมืองลับแล มี พระพิศาลคีรี เป็นผู้ว่าราชการเมืองลับแล
เมืองทุ่งยั้ง มี พระภักดีพนมมาศ เป็นผู้ว่าราชการเมืองทุ่งยั้ง
เมืองนางพูน มีพระวิชิตคีรี เป็นผู้ว่าราชการเมือง(ด่าน)นางพูน”
จนเมื่อ วันที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. 2441 (ร.ศ. 117) มีการส่งสัญญาบัตรไปพระราชทาน
ข้าราชการหัวเมือง โดยปรากฏว่า หลวงโกศลกิจ กรมการ เป็น พระศรีพนมมาศ ผู้ว่าราชการเมืองทุ่ง
ยง ขึ้นแก่เมืองพชย ศกดินา ๑๐๐๐ หลวงคลังกรมการ เลื่อนเป็น พระวิชิตคีรี ผู้ว่าราชการเมือง
ั้
ั
ั
ิ
50
ด่านนางพูน ขึ้นแก่เมืองพิชัย ถือศักดินา ๑๐๐๐ [นบว่าเป็นผู้ว่าราชการเมืองด่านนางพน *คน
ู
ั
สุดท้าย*]
ุ
พ.ศ. ๒๔๔๑ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานภาพได้เสด็จมาตรวจราชการมณฑล
ิ
พษณุโลก มาถึงเมืองลับแล ในวันที่ ๑๓ พฤศจิกายน โดยเสด็จออกจากเมืองอุตรดิตถ์ไปถึงเมืองลับ
แล ถนนสายนจีนทองอินเป็นผู้ดำเนนการตดถนน แล้วพระยาศรสุรยราชวรานวัตรฯ (เชย
ี้
ิ
ี
ิ
ั
ุ
ั
ิ
ิ
ั้
กัลยาณมิตร) ได้ให้ชอว่า ‘ถนนอนทคีรี’ เมืองมาถึงบ้านจีนทองอนได้ถวายการรบรอง จากนนได้
ื่
51
เดินทางไปอีก ๓๐ เส้น จึงถึงที่พักเมืองลับแล ทรงบรรยายภูมิทัศน์ของเมืองลับแลไว้ว่า
เมืองลับแลจะหาพนที่ใดในหัวเมืองฝ่ายเหนองามเท่าเปนไม่มี เพราะเปนที่
ื้
ื
ื้
ว่างอยู่ระหว่างเขา แลในนั้นยังมีเขามอเล็ก ๆ ซับซ้อนกันไป พนที่เปนนาบ้าง เปนบ้าน
บ้าง เปนสวนบ้าง ถ้าจะเดินเที่ยวเล่นก็มีทางวกเวียนไปไม่มีที่สุด ที่ดินอุดมจะปลูก
่
้
พรรค์ผลไม้อยางใดงอกงามดีทุกอยาง ที่นาก็ดี ด้วยมีลำนำห้วยผ่านไป ราษฎรทำ
่
่
ื
ฝาย คือ ทำนบกั้นน้ำขั้นไว้ให้สูง แล้วน้ำรางไขนำไปตามเรอกสวนไรนา เข้ามักจะงาม
้
บริบูรณ์ไม่ใครเสีย แตการทำทำนบเข้าใจว่ายงทำไม่เตมที่ ถ้าได้ความคิดแลทุนของ
่
่
ั
็
ี้
้
่
่
รัฐบาลชวยบ้าง ที่นาเมืองลับแลจะดีขึ้นกว่านีมาก แตอย่างนราคาที่นาซื้อขายกันถึง
ไร่ละชั่งเปนประมาณไม่ถูกกว่านาในกรุงเก่า
49 สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. หน้า ๓๔.
50 ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๕ หน้า ๕๒๕.
51 สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. หน้า ๒๗๗-๒๗๘.
เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
หน้า ๖๓