Page 760 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 760

จากจดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓ สารตราพระยาจักรีถึงพระยาพิชัยเรื่องให้มีหนังสือถึงพระยาแพร่ชำระเลก

               อ้างถึงวิทยานิพนธ์ของอาจารย์ขวัญเมือง  จันทโรจนี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๓๘ ปรากฏว่าจากเอกสาร
               หน้าเดียวกันพบทั้งคำว่า “เมืองลับแล ชาย หญิง ๒๑ , แสนหลวงเมืองลับแล ชาย หญิง ๔๓”
                       ทำให้สันนิษฐานได้ว่าในพื้นที่เมืองลับแลมีชาวไทยวนที่อยู่ในความปกครองของขุนเมืองสองกลุ่มจาก

               เอกสารนี้คือกลุ่มที่อยู่ในการดูแลของพระลับแล และแสนหลวง ซึ่งเป็นตำแหน่งขุนนางเมืองลับแล จากสมุดไทยดำ
               สมบัติของนายเนียม สังข์มูล ซึ่งอาศัยอยู่ในพื้นที่ของบ้านด่าน ตำบลแม่พูล อำเภอลับแล พบว่ามีเอกสารชั้นต้น

               หลายฉบับที่ปรากฏพบตำแหน่ง แสนหลวง ซึ่งเป็นขุนเมืองลับแล เช่น แสนหลวงบ้านน้ำถ้วม แสนอรุณ แสนท  ิ
               ปทาน แสนหลวงราชวงศา เป็นต้น

                       จึงสันนิษฐานได้ว่า หลวงวิชิตคิรีแสนหลวง ผู้ว่าราชการเมืองด่านนางพูนคนแรกที่ปรากฏในหลักฐาน ไม่ใช ่
                                               ่
               ข้าราชการจากส่วนกลางของสยาม แตเป็นคนที่อยู่ในพื้นที่แต่เดิมมียศ “แสนหลวง”

                               ิ
                       ๓.๕ ราชกจจานุเบกษา พ.ศ. ๒๔๑๘















                                                                                                    ภาพท ๑๒
                                                                                                         ี่
                                                                                             ราชกิจจานุเบกษา

                                     พ.ศ. ๒๔๑๘

                       ราชกิจจานุเบกษา พ.ศ. ๒๔๑๘ ปรากฏการระบุจำนวนไพร่เมืองด่านนางพูน ในการเข้าเป็นกำลังไปรบใน

               ศึกปราบฮ่อ









                                                        เมืองด่านนางพูน

                                                          หน้า ๓๒
   755   756   757   758   759   760   761   762   763   764   765