Page 755 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 755
ล้านนาและมีประชากรเป็นคนล้านนา คงสภาพการปกครองแบบเดิม(ลานนา)ร่วมไปกับการปกครองของ
้
สยาม ก่อนที่จะมีการปรับเปลี่ยนมาปกครองตามรูปแบบของสยามอย่างเต็มรูปแบบในภาพหลัง
๒.๑๙ ใบลานที่พบที่วัดท้องลับแล
ี
ภาพ ใบลานที่พบที่วัดท้องลับแล กล่าวถึงภิกษุณนาม ลำพูร
คำอ่านปริวรรต : ขยรยามเมิอยูปริวาดวัถดอนสักแกวกวางแลขยรกับกัน ๓ สีมื ตนขาขํอสุก ๓ ปรกาน
อยุวนเนาสุขํภลํ ตํวขาภเจ้าชือว่าภิกขุณลมปุร (ลมุร) บวดไดวสายูกำนียาสิกดยรยีนี
ี
คำอ่าน : เขียนยามเมื่ออยู่ปริวาสวัดดอนสักแก้วกว้างและเขียนกับกันได้ ๓ สี่ มื้อ ตนข้าขอสุข ๓ ประการ
อายุวรรโณสุขังพะลัง ตวข้าพเจ้าชื่อภิกขุณีลัมพุร (ลำพูร) (ลมุร) บวชได้วัสสาอยู่กรรมนี้จะสิก (สิกขา)
เดือนยี่นี้
ที่มา : พบที่วัดท้องลับแล ตำบลฝายหลวง อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดตถ์
ิ
ความสำคัญ : ใบลานที่จารด้วยภาษาล้านนา พบคำว่า “ภิกขุณีลัมพุร (ลมุร)”ซึ่งมาบวชอยู่ปริวาสกรรมท ี่
วัดดอนสัก
ผู้ค้นพบ : คณะกรรมการศึกษาประวัติศาสตร์เมืองลับแล (เมืองลับแลง)
้
เมื่อทำการตรวจสอบลักษณะของตัวอักษรลานนาที่พบ สันนิษฐานว่าอยู่ในช่วงต้นรัตนโกสินทร์ราวรัชกาล
ี่
ี่
ที่สามถึงรัชกาลทสี่ ปรากฏผู้จารซึ่งเป็นภิกษุณีนามว่า ลำพูน (บ้างอ่านว่า ลมุร) อาจมีนัยถึงทมาของชอเมืองดาน
่
ื่
นางพูน
เมืองด่านนางพูน
หน้า ๒๗