Page 825 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 825
้
จากเหตุการณ์ที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น ทำให้อนุมานได้ว่าเชลยลาวพุงดำชาวเชียงใหม่ที่พบจากการถูกเจา
์
ราชวงศ์เวียงจันทน์กวาดต้อนมาจากเมืองสระบุรีในศึกเจ้าอนุวงศสมัยรัชกาลที่ ๓ นี้ คือเชลยชาวเชียงใหม่ – ลำพูน
ในปกครองของพญาจ่าบ้าน เมื่อคราวถูกกวาดต้อนไปยังเมืองเชียงแสนในปีพ.ศ.๒๓๒๒ หรือเป็นลูกหลานของเชลย
ู้
ี
เหล่านั้น เมื่อพิจารณาช่วงระยะเวลาจากครั้งที่มีการกวาดต้อนผคนในการปกครองของพญาจ่าบ้านไปเมืองเชยง
้
ี
์
แสนเมื่อป พ.ศ. ๒๓๒๒ จนถึงปี พ.ศ. ๒๓๗๑ หรือปีที่สิ้นสุดสงครามเจาอนุวงศเวียงจันทน์นั้น รวมเป็นระยะเวลา
ทั้งสิ้น ๔๙ ปี ถือเป็นช่วงเวลาไม่นานเท่าใดนัก จึงทำให้ผู้คนที่เป็นเชลยสงครามในครั้งนั้นยังสามารถจดจำ
้
์
เหตุการณต่างๆได้ สอดรับกับคำให้การของเชลยลาวพุงดำชาวเชียงใหม่ที่อพยพมาจากเมืองสระบุรี ดังที่ไดยกมา
เบื้องต้นนั่นเอง
จากคำสัมภาษณของพ่อหม่อนบุญเสริม ผาเจริญ อายุ ๘๔ ปี อาศัยอยู่บ้านเลขที่ ๔๓ ม.๒ ต.แม่พูล อ.ลบ
ั
์
่
แล จ.อุตรดิตถ์ กล่าวไว้ในประวัติของทานสมเด็จราชครู(พุก) ว่าท่านได้ธุดงค์มาจากเมืองสระบุรี มาทำการบูรณะ
ี
วัดป่าดง (วัดหัวดง) เมื่อป พ.ศ.๒๓๗๐ เช่นเดียวกับที่แม่หม่อนยอด สุวรรณปราสาท อายุ ๑๐๔ ปี (เสียชีวิต) อาศัย
อยู่บ้านเลขที่ ๘๔ ม. ๒ ต.แม่พูล อ.ลับแล จ.อุตรดิตถ์ หลานสาวของขุนพูลปกรณ์ ที่ได้ระบุว่า หลวงพ่อพุกเป็นคน
ี่
้
ื่
ั
ี
ลาว คำบอกเล่าของผู้เฒ่าในพื้นที่อ.ลบแลเหล่านี้อาจมีความเชอมโยงกับกรณเชลยลาวพุงดำทไดหลบหนีกระจาย
ตัวเข้ามาอยู่ในทุกหัวเมือง ตามที่พระยาสมบัติบาลเมื่อครั้งที่ท่านตั้งทัพอยู่ที่เมืองน้ำปาดไดรายงานไว้ว่า ท่านได ้
้
แต่งกองลาดตะเวนตามหัวเมืองต่างๆและพบว่าลาวพุงดำหลบหนีไปอยู่ในทุกหัวเมือง ครัวละร้อยคนบ้าง สองร้อย
คนบ้าง สามารถจับกุมมาได้บ้าง หนีไปได้บ้าง แต่กระนั้นพวกลาวพุงดำก็ยังสามารถทำการหลบหนีไปได้อีกเป็น
จำนวนมาก
ี่
นอกจากนี้ยังพบภูเขาขนาดเล็กทมีพื้นที่ต่อเนื่องกับที่ราบและหนองน้ำ และอยู่ในพื้นที่ของ ตำบลฝาย
หลวง เรียกว่า ม่อนเชียงใหม่ ซึ่งเมื่อทำการสอบถามผู้เฒ่าผู้แก่ในพื้นที่ล้วนบอกว่า ม่อนเชียงใหม่ นี้มีมานานแล้ว
เรียกกันมาตั้งแตอดีต เป็นที่กัดที่เย็น หมายถึงเป็นสถานที่น่ากลัว ปลูกอะไรก็ไม่ขึ้น ข้างๆม่อนเชียงใหม่เป็น
่
เส้นทางเกวียนที่ใช้ในการเดินทางมาแต่โบราณและสามารถเชื่อมต่อไปยังเส้นทางดานชายเขาได้ นี่อาจจะเปนอีก
่
็
ี
ี่
ร่องรอยหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับเชลยลาวพุงดำชาวเชียงใหม่ในพื้นทนี้ บริเวณเชิงเขาม่อนเชยงใหม่ มีหนองน้ำผด หรือ
ุ
น้ำไหลออกดอย ที่ไม่เคยเหือดแห้ง ชาวบ้านเรียกว่า หนองไผ่ เพราะมีต้นไผ่ขึ้นมาก และยังปรากฏพบวัดโบราณ
ิ
ี่
(ร้าง) ชื่อว่าวัดฮ่องอ้อ(ร่องอ้อ) หรือ วัดฮ่องหม้อ(ร่องหม้อ) เนื่องจากมีลำคลองหรือร่องน้ำชื่อว่าร่องหม้อทเชงดอย
ม่อนเชียงใหม่นี้ด้วย ในอดีตชุมชนละแวกนี้ได้ใช้คลองนี้เพื่อการปั้นหม้อ อิฐดินจี่ กระเบื้องดินขอ บางคราวพบการ
เรียก วัดนี้ว่า วัดหนองไผ่ ไม่ปรากฏว่าสร้างเมื่อปีใด ปัจจุบันได้มีการถมหนองไผ่บางส่วนเพื่อทำนา ทำการกสิกรรม
ซากโบราณสถานคงหลงเหลือแค่บริเวณต้นโพธิ์เท่านั้น
พระลับแลในศึกเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์ และร่องรอย เชลยลาวพุงดำ ลาวพุงขาว ในสมัยรัชกาลที่ ๓
~ หน้า ๔๔ ~