Page 824 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 824
ั
ที่มาภาพเอกสาร : ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบบเชียงใหม่ ๗๐๐ ปี. หน้า ๑๑๗
เมื่อพิจารณาถึงไพร่พลที่อยู่ในเมืองลำพูนหรืออยู่ในความปกครองของพญาจ่าบ้านในเวลานั้น อาจ
สันนิษฐานได้ว่า ผู้คนเหล่านั้นน่าจะเป็นทั้งชาวเมืองลำพูนและชาวเมืองเชียงใหม่ปะปนกันอยู่ เนื่องจากว่าเมือง
ื
เชียงใหม่ ณ เวลานั้นแทบจะเป็นเมืองร้างปกคลุมด้วยต้นไม้เครือเขาเถาวัลย์ เป็นที่อยู่ของเหล่าสตว์ร้าย แรด เสอ
ั
่
หมี มีผู้คนอาศัยอยู่น้อยมาก เพราะเชียงใหม่ได้รับความเสียหายอย่างมากจากสงครามเมื่อคราวรบกับพม่าหลายตอ
หลายครั้ง ทำให้ยากต่อการบูรณะและไม่เหมาะที่จะอยู่อาศัย
้
เป็นที่ชัดเจนว่าพญาจ่าบ้านและเจ้ากาวิละคือผู้ที่ร่วมมือกับสยามปลดแอกพม่าที่ปกครองลานนาไดสำเร็จ
้
เมื่อปี พ.ศ.๒๓๑๗ พญาจ่าบ้านจึงได้ขึ้นปกครองเป็นพญาเชียงใหม่ในช่วงเวลาหลังจากนั้น ในขณะที่เจ้ากาวิละ
เสด็จกลับไปยังนครลำปางขึ้นเป็นพญาลคอร ผู้คนเมืองเชียงใหม่ต่างพากันอพยพออกจากเมืองเชียงใหม่ไปอาศัย
้
ี
อยู่ในป่าดงและเมืองละแวกใกลเคยง ชาวเชียงใหม่ส่วนหนึ่งคงอพยพไปอยู่อาศัยยังเมืองลำพูน เพราะพญาจาบ้าน
่
ไดย้ายมาตั้งอยู่ที่เมืองลำพูน อีกทั้งท่านยังไดชื่อว่าเป็นเจ้าเมืองครองเชียงใหม่ในเวลานั้น และเมื่อข้าราชการเมือง
้
้
ู้
เชียงแสนกับเชียงรายทขึ้นกับพม่ารบชนะเมืองลำพูน มากวาดต้อนเอาผคนในเมืองลำพูนไป ก็ย่อมต้องมีชาวเมือง
ี่
เชียงใหม่ถูกกวาดต้อนไปด้วย กล่าวให้ชัดเจนยิ่งขึ้นคือ เมืองเชียงแสนในยุค พ.ศ. ๒๓๒๒ – ๒๓๔๗ คงมีผู้คนท ี่
เป็นชาวเชียงใหม่ถูกกวาดต้อนไปอาศัยอยู่นั่นเอง
เมื่อเมืองเชียงแสนถูกตีแตกในปีพ.ศ.๒๓๔๗ ก็ได้มีการแบ่งสันปันส่วนเชลยจากเมืองเชียงแสนให้กับบรรดา
่
เจ้าเมืองที่ไปช่วยรบพม่าที่เมืองเชียงแสนในครานั้น พญากาวิละก็ได้นำเชลยจากเมืองเชียงแสนเดินทางลงมาสงยัง
กรุงเทพฯ และเชลยเหล่านั้นก็ถูกเคลื่อนย้ายต่อไปยังเมืองราชบุรีและเมืองสระบุรี
พระลับแลในศึกเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์ และร่องรอย เชลยลาวพุงดำ ลาวพุงขาว ในสมัยรัชกาลที่ ๓
~ หน้า ๔๓ ~