Page 844 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 844

รายละเอียดดังนี้ เป็นสกรร (ชายฉกรรจ) = ๑๔ คน, ครัว (คนแก่ สตรี เด็ก) = ๔๑ คน สรุปรวมเชลยลาวล้านช้างท ี่
                                                ์
               เข้ามาอยู่ในเมืองลับแลทั้งสิ้น = ๕๕ คน
                       หลักฐานหนึ่งที่แสดงให้เห็นร่องรอยของชาวลาวพวนคือ ยังพบนามสกุล “เชื้อพรวน” “วงศ์พรวน”

               ปรากฏอยู่ในเมืองลับแลโดยเฉพาะในบริเวณพื้นที่บ้านป่ายาง เทศบาลตำบลศรีพนมมาศ อำเภอลับแล สอดรับ

                                                                                              ี่
               เรื่องราวประวัติของหลวงพ่อน้อยวัดป่ายาง ที่กล่าวว่าอพยพมาจากประเทศลาวในสมัยรัชกาลทสาม นอกจากนี้ยัง
                                                                                                      ์
                                                     ้
                                       ิ
                                         ิ
               ปรากฏหลักฐานสถูปบรรจุอัฐศลปกรรมล้านชาง และคัมภีร์ใบลานทจารด้วยอักษรลาวของวัดม่อนปรางคซึ่งอยู่ไม่
                                                                       ี่
               ไกลจากวัดป่ายางอีกด้วย
               หมายเหต : นอกเหนือจากการอพยพของชาวลาวพวนมายังเมืองลับแลในครั้งนี้ ยังปรากฏพบว่ามีการแต่งงาน
                        ุ
               ระหว่างชาวพวนหาดเสี้ยว เมืองศรีสัชนาลัย กับชาวพวนในลับแล นอกจากนี้พระมหาทองปอน พระสงฆ์ชาวไท
                                                                                                         ู้
                                                ์
                                                                                               ี
                                                                                                  ิ
               พวนหาดเสี้ยวยังได้มาบูรณะปฏิสังขรณพระเจดย์วัดม่อนธาตุ โดยทำการสร้างครอบองค์พระเจดย์เดม เป็นผริเริ่ม
                                                       ี
               ประเพณีนมัสการพระธาตุที่วัดม่อนธาตุนี้ มีการแห่บั้งไฟขึ้นไปจุดเพื่อเฉลิมฉลองสักการะพระเจดีย์นี้ ท่าน
               มรณะภาพเมื่อป พ.ศ. ๒๕๓๒ ทำพิธีฌาปนกิจศพเมื่อป พ.ศ. ๒๕๕๔ แสดงให้เห็นถึงสัมพันธภาพระหว่างชาวพวน
                                                             ี
                             ี
               เมืองลับแลกับชาวพวนหาดเสี้ยว ศรีสัชนาลัยได้เป็นอย่างด  ี




























                         พระลับแลในศึกเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์ และร่องรอย เชลยลาวพุงดำ ลาวพุงขาว ในสมัยรัชกาลที่ ๓
                                                         ~ หน้า ๖๓ ~
   839   840   841   842   843   844   845   846   847   848   849