Page 979 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 979
พระพุทธรูปสำริด (องค์ที่ ๑) จัดเป็นพระพุทธรูปในศิลปะสุโขทย แบบหมวดใหญ่
ั
สามารถเปรียบเทียบได้กับพระพุทธรูปสำริด (ภาพที่ ๒) วัดพระเจ้าเหลื้อม
อ. หางดง จ. เชียงใหม่
ภาพที่ ๒ พระพุทธรูปสำริด วัดพระเจ้าเหลื้อม อ.หางดง จ.เชียงใหม่
(ที่มา : พระครูจิรบุญวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดพระเจ้าเหลื้อม)
การกำหนดอายุ จากรูปแบบทางศิลปกรรมของพระพุทธรูปสำริด (องค์ที่ ๑) สามารถกำหนดอาย ุ
ี
ุ่
ได้ในครึ่งหลังพุทธศตวรรษที่ ๒๐ (พ.ศ. ๑๙๕๑-๒๐๐๐) โดยเปรียบเทยบกับกลม
ุ
ั
พระพุทธรูปศิลปะสโขทย แบบหมวดใหญ่ ที่ปรากฏจารึก เช่น พระพุทธรูปสำริด
พระญาศรียศราช พ.ศ. ๑๙๖๗ วัดหงส์รัตนาราม กทม. เป็นต้น
ประติมานวิทยา พระพุทธรูปสำริด (องค์ที่ ๑) ไม่สามารถระบุประติมานวิทยาได้แน่ชัด เนื่องจาก
ิ
ั
ไม่ปรากฏจารึกหรือบริบทอื่น ๆ ที่สามารถระบุประตมานวิทยาให้ชดเจนได ทงนี้
้
ั้
สามารถอนุมานประติมานวิทยาได้จากรูปแบบทางศิลปกรรมที่จัดเป็นพระพุทธรูป
ปางมารวิชัย ซึ่งอาจสื่อถึงพุทธประวัติของเจ้าชายสิทธัตถะ ช่วงก่อนตรัสรู้
ที่พระองค์ถูกพญามารและกลุ่มมารซึ่งคือบุคคลาธิษฐานของกิเลสมาขัดขวาง
พระโพธิสมภาร จึงทรงชี้พระดัชนีขวา (นิ้วมือขวา) ลงที่พื้นดินเพื่อเรียกพระแม่
ภาคผนวก ~ หน้า ๑๐๙ ~