Page 981 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 981

กึ่งกลางพระวรกาย ส่วนปลายแยกชายลักษณะคล้ายเขี้ยวตะขาบ พระวรกายบาง

                                      พระศอเป็นปล้อง พระพักตร์ทรงรูปไข่ โดยมีสัดส่วนพระพักตร์ค่อนข้างเล็กเมื่อ

                                      เทียบกับพระวรกาย พระขนงค่อนข้างโก่งโค้งจรดเป็นสันพระนาสก พระเนตรเล็ก
                                                                                           ิ
                                      เรียวคล้ายนกนอน พระโอษฐ์เล็ก พระหนุเป็นปมเล็กน้อย พระกรรณเรียวยาว
                                      เม็ดพระศกมีลักษณะเวียนขวาขนาดปานกลาง อุษณีษะเป็นครึ่งทรงกลมสูง เหนือ

                                      อุษณีษะเป็นพระรัศมีเปลวเพลิงที่ปรากฏกลีบบัวรอง จากรูปแบบทางศิลปกรรมท ี่

                                                                                               ิ
                                                                        ี่
                                      กล่าวมาข้างต้น พระพุทธรูปสำริด (องค์ท ๒) จัดเป็นพระพุทธรูปในศลปะสโขทย
                                                                                                       ั
                                                                                                    ุ
                                      แบบหมวดใหญ่ สามารถเปรียบเทียบได้กับพระพุทธรูปสำริด (ภาพที่ ๔-๕)
                                      วัดมหาธาตุ อ. พิชัย จ. อุตรดิตถ์



























                                                                              ั
                                      ภาพที่ ๔-๕ พระพุทธรูปสำริด วัดมหาธาตุ อ. พิชย จ. อุตรดิตถ์
                                                              (ที่มา : สมภพ วัชฤทธิ์)
                การกำหนดอายุ          จากรูปแบบทางศิลปกรรมของพระพุทธรูปสำริด (องค์ที่ ๒) สามารถกำหนดอาย ุ

                                      ได้ในครึ่งหลังพุทธศตวรรษที่ ๒๐ (พ.ศ. ๑๙๕๑ - ๒๐๐๐) โดยเปรียบเทียบกับ

                                      กลุ่มพระพุทธรูปศิลปะสุโขทัย แบบหมวดใหญ่ ที่ปรากฏจารึก เช่น พระพุทธรูป

                                      สำริด พ.ศ. ๑๙๖๗ วัดโบสถ์มณีราม จ.สุโขทัย เป็นต้น


                ประติมานวิทยา         พระพุทธรูปสำริด (องค์ที่ ๒) ไม่สามารถระบุประติมานวิทยาได้แน่ชัด เนื่องจาก
                                                                                                      ั้
                                                                                                    ้
                                      ไม่ปรากฏจารึกหรือบริบทอื่น ๆ ที่สามารถระบุประติมานวิทยาให้ชัดเจนได ทงนี้



                                                   ภาคผนวก ~ หน้า ๑๑๑ ~
   976   977   978   979   980   981   982   983   984   985   986