Page 10 - องค์ความรู้ ฉบับตีพิมพ์ จริง Ver1 (1)
P. 10
๔
๑
โดยมีที่ท้าการตั้งอยู่ที่ ต้าบลยางกะไดอันที่ตั้งพลับพลาของรัชกาลที่ ๕ ครา
เสด็จประพาสเมืองลับแล พ.ศ. ๒๔๔๔ สมัยนี้ยังมีคนเชื้อสายจากลาวพวน
๒
ิ
เชียงขวางที่ตามมาพร้อมทัพพระยาพไชยตอนกลับจากศึกชาวฮอ รวมถึงมี
่
ผู้คนเชื้อสายชาวจีนน้าโดยนายจีนทองอินมาท้าการค้าในเมืองลับแล และมา
จัดวางรากฐานความเจริญทางเศรษฐกิจและการปกครองจนได้รับ
พระราชทานบรรดาศักดิ์ตามล้าดับจนถึงยศคุณพระ ในราชทินนาม “พระ
ศรีพนมมาศ”โดยเป็นราชทินนามเดิมของเจ้าเมืองทุ่งยั้ง พ.ศ. ๒๔๕๐
้
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเจ้าฟามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมารได้เสด็จ
ประพาสเมืองลับแลในวันที่ ๑๙ กุมภาพนธ์ และเสด็จพระราชด้าเนินเปิด
ั
โรงเรียนที่หลวงศรีพนมมาศปลูกขึ้นที่บนเนินเขาม่อนชิงช้าและพระราชทาน
๓
นามว่า “โรงเรียนพนมมาศพทยากร” และในสมัยรัชกาลที่ ๖ เปลี่ยนการ
ิ
้
เรียกชื่อเมืองเป็นอ้าเภอลับแล จนถึงปัจจุบันฉะนั้นอาเภอลับแลจึงเป็นเมือง
ู
ที่มีผู้คนหลากหลายเชื้อสาย ทั้งชาวเชื้อสายพดส้าเนียงสุโขทัย เชื้อสายไท-
ยวนพูดก้าเมืองแบบล้านนา เชื้อสายชาวพวนและเชื้อสายจีน จนหล่อหลอม
รวมเป็นอัตลักษณ์อ้าเภอลับแลมาจนถึงทุกวันนี้
๑
ี
สันนิษฐานว่าที่ตั้งพลับพลาน่าจะเป็นตีนวัดม่อนปรางค เนื่องจากพบน้้าบ่อที่พระพิศาลครีให้สร้าง
์
ขึ้นข้างพลับพลา
๒
ราชกิจจานุเบกษา จ.ศ.๑๒๓๘
๓ พระราชนิพนธ์หนังสือเที่ยวเมืองพระร่วง (หน้า ๑๙๓)