Page 9 - องค์ความรู้ ฉบับตีพิมพ์ จริง Ver1 (1)
P. 9
๓
ุ
ุ
ุ
ในศึกนั้นได้สร้างพระพทธรูปบรรจุพระธาตุของพระพทธเจ้าอทิศให้กับเจ้ายี่
กุมกามแก้ววงเมืองชื่อว่า “พระเจ้ายอดค้าทิพย์”ประดิษฐานที่วัดลับแลง
หลวง(วัดท้องลับแล) แล้วยกทัพไปตีเมืองเมืองเชลียงได้ จึงเปลี่ยนชื่อเมือง
เป็นเชียงชื่น โดยให้เจ้าหมื่นด้งครอง ต่อมาไม่นานพระญาเจ้าติโลกราชสั่ง
ั้
ประหารเจ้าหมื่นด้งนคร นางอวป้านค้า นางเมืองเชียงชื่นโกรธไม่พอใจจึงได้
ยกเมืองเชลียงและเมืองลับแลงคืนให้สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ตั้งแต่นั้น
เมืองลับแลงก็เป็นเมืองที่ขึ้นต่อกรุงศรีอยุธยา ในสมัยอยุธยา ชาวลับแลงได้
ถูกเกณฑ์คนไปช่วยท้าศึกกับกรุงศรีอยุธยาอยู่เนือง ๆ จนเสร็จศึกหงสาวดีกับ
๑
กรุงศรีอยุธยา เมืองลับแลงได้ขึ้นกับเมืองพิไชย ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
ในสมัยรัตนโกสินทร์เมืองลับแลในหน้าที่ในส่งส่วยขอนไม้สักให้พระ
นคร ในสมัยรัชกาลที่ ๓ มีผู้คนชาวแสนหลวง (เชียงแสน) มาอยู่ที่ ด่านแม่
ู
ู
นางล้าพน อนเป็นด่านของเมืองลับแล และยกฐานะเป็นเมืองด่านนางพล
ั
โดยอาณาเขตติดกับบ้านน้้าท่วมเชียงแสน เมืองลับแลในสมัยรัชกาลที่ ๔
พ.ศ. ๒๓๙๔ โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ตัดเขตเมืองทุ่งยั้งในความปกครอง
ของพระญาสวรรคโลกมาขึ้นอยู่ในความปกครองของพระญาพไชย จึงท้าให้
ิ
พระญาสวรรคโลกยกฐานะบ้านนาทุ่ง เป็นเมืองศรีพนมมาศ(ปัจจุบันคือ ต.
๓
นาทุ่ง อ.ทุ่งเสลี่ยม จ.สุโขทัย) เป็นเมืองที่ขึ้นกับเมืองสวรรคโลก ในสมัย
รัชกาลที่ ๕ ในพื้นบริเวณตั้งของอ้าเภอลับแล มีเมืองที่ขึ้นต่อเมืองพไชยถึง ๓
ิ
ู
เมือง คือ เมืองทุ่งยั้ง,เมืองลับแล,เมืองด่านนางพล จนปี พ.ศ. ๒๔๓๙ ได้ยุบ
เมือง ๓ เมือง ตั้ง อ้าเภอลับแล เพื่อง่ายต่อการปกครอง ๔
๑
ต ำนำนพระเจ้ำยอดค ำทิพย์ วัดลับแลงหลวง. ,๒๕๖๑ (หน้ำ ๑๔-๑๘)
๒
จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓ ฉบับที่ ๔ (หน้า ๒๔)
๓ ราชกิจจานุเบกษา สมัยรัชกาลที่ ๔
๔
ราชกิจจานุเบกษา ,ร.ศ.๑๑๙ เล่ม ๑๗ (หน้า ๑๙)