Page 52 - องค์ความรู้ ฉบับตีพิมพ์ จริง Ver1 (1)
P. 52

๔๐

               หมายเหตุของการแต่งกาย
                       อย่ำงไรก็ตำม ค่ำนิยมในกำรแต่งกำยไม่สำมำรถระบุแบ่งแยก

               ชัดเจนถึงแต่ละยุคสมัยอย่ำงแท้จริง เพรำะอำจมีลักษณะกำรแต่งกำยที่คำบ
               เกี่ยวระหว่ำงยุค ยกตัวอย่ำงเช่น เรำอำจพบเห็นกำรมัดนมหรือกำรใช้ผ้ำคำ

               ดอกในสมัยรัชกำลที่ ๗ โดยสตรีสูงวัยผู้มีอำยุอยู่ร่วมสำมรัชกำลเป็นต้น

               ทรงผมของหญิงชาวลับแลในช่วงรัชกาลที่ ๕-๗
                       ทรงผมของหญิงชำวไท-ยวนลับแล พบกำรเกล้ำผมสูงตรงกลำง

               ศีรษะ บำงคนอำจเกล้ำค่อนมำทำงหน้ำผำก มี ๒ วิธี คือ  กำรเกล้ำแบบ

               วิดว้องและกำรเกล้ำหลักวัวหลักควำย
                                           ้
                                       ิ
                       ๑. การเกล้าแบบวดหวอง กำรเกล้ำแบบวิดหว้องนั้นจะใช้มือรวบ
               มัดเส้นผมเป็นช่อหมุนเป็นมุ่นมวย แล้วจึงจั๊ก (ชัก) วิดหว้อง (ดึงปลำยผม

               สอดลอดออกมำตรงกลำงมวย ให้เป็นรูปคล้ำยๆกับบ่วง)
                       ๒. การเกล้าหลักวัวหลักควาย กำรเกล้ำหลักวัวหลักควำยนั้น ต้อง

               มีกำรอวผม คือน ำเอำเส้นฝ้ำยสีด ำหรือปอยผมของตนเองที่เก็บถนอม
                      ั่
                                                                            ๊
               รวบรวมจำกกำรหลุดขณะหวีผมมำมัดรวมกันแล้วชโลมด้วยน้ ำมันแอก
               ส ำหรับใส่ผม(หญิงสำวชำวล้ำนนำแต่โบรำณเมื่อเริ่มเข้ำสู่วัยสำวไม่นิยมตัด

                                                  ื่
                                                     ิ่
               ผม)จำกนั้นจึงน ำไปผูกรวมกับผมจริงเพอเพมปริมำณของผมให้ดูมำกขึ้น
               แล้วจึงน ำมำท ำกำรหมุนเป็นมุ่นมวยวิดว้อง คล้ำยกับวัวหรือควำยที่เดิน
               วนรอบไม้ที่ใช้เป็นหลักมัด ในยุคหลังไม่ค่อยพบลักษณะวิดว้องในกำรเกล้ำ
               หลักวัวหลักควำย (หำกแต่ผู้สูงอำยุบำงคน พอแก่ตัวแล้วผมบำง พอเกล้ำ

               แล้วมวยผมมีขนำดเล็ก ก็เปลี่ยนมำเกล้ำตรงท้ำยทอยแทน)
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57