Page 102 - Portrait Painting
P. 102
อาจารย์ประยูร อุลุชาฎะ
อาจารย์ประยูร อุลุชาฎะ คือหนึ่งในกลุ่มบุคลากรส�าคัญที่ต้องท�างานอนุรักษ์ ศิลปะวัฒนธรรมและจิตรกรรมใน
ี
�
วัดวาอารามสาคัญ ๆ ของประเทศ ก่อนท่ทุกอย่างจะเลือนหายไปตามกาลเวลาโดยไร้คนเข้าใจ และโดยการคัดเลือกของ
ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี บิดาแห่งศิลปะสมัยใหม่ของไทย อาจารย์ ณ. ปากน�้า คือนามปากกาของท่านในการเขียน
หนังสือ เช่น "ความเข้าใจศิลปะ" และหนังสือที่เกี่ยวกับศิลปะโบราณคดีจ�านวนมาก ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความสามารถที่
หลากหลายรอบด้านทั้งด้านทฤษฎี ประวัติศาสตร์ และจิตรกรรมสีน�้ามัน, สีน�้า
ประยูร อุลุชาฎะ หรืออาจารย์ ณ ปากน�้า เป็นทั้งจิตรกร นักปรัชญา และนักวิชาการ โดยเฉพาะในฐานะศิลปิน
่
�
�
้
ี
้
�
ี
ท่มีความชาชองในการใช้เทคนิคสีนาในการสร้างงานจิตรกรรม ท่มีความพิเศษมากคือ ท่านใช้สีนาแบบบางเบามาก
ด้วยเทคนิคการแต้มสีเป็นแถบ (Stripe) เป็นจุด (Point) และเป็นแผ่น (Plane) วางทับซ้อนกันแบบเปียกบนแห้ง
ท�าให้สีเหลื่อมเฉดกันเกิดเป็นสีและค่าน�้าหนักใหม่ขึ้นมาโดยไม่ได้ใช้คุณลักษณะของน�้าในแง่ที่เป็นตัวเชื่อมประสาน แต่
ใช้เพื่อเจือจางเท่านั้น
ผู้เขียนจึงต้องการเขียนภาพท่านอาจารย์ด้วยเทคนิคสีน้า ในขณะเดียวกันก็จะนาเสนอภาพลักษณ์ความเป็นนัก
�
�
วิชาการโดยการใช้สีน�้าเพียง 3 สี คือ แดง เหลือง น�้าเงิน แม่สีที่สามารถผสมให้เกิดสีอื่น ๆ ได้ ทั้งนี้ผู้เขียนได้ก�าหนด
เงื่อนไขว่าไม่ควรผสมสีในจานหรือแม้แต่ในน�้าที่เชื่อมประสานบนกระดาษ แต่จะใช้วิธีการระบายสีเป็นแถบ จุด Plane
แบบเปียกบนแห้งให้เกิดการทับซ้อน เกิดเฉดสีใหม่ ค่าน�้าหนักใหม่
สัญลักษณ์และความหมายในเทคนิควิธีการ
1. ร่างภาพด้วยมีดปลายแหลม กรีดเป็นร่องลึก เพื่อให้สีฝังตัวในภายหลัง
2. ร่างภาพแสง เงา Section โครงสร้างกระดูกและกล้ามเนื้อด้วยดินสอและทิ้งร่องรอยไว้เป็นโครงสร้าง
ระบายสีด้วย เหลือง แดง น�้าเงิน ตามค่าน�้าหนักภาพและรูป Plane ตามภาพร่างเป็นสีขั้นที่ 1 ตาม
ทฤษฎีสี แล้วให้สีน�้าที่มีคุณสมบัติบางใสไหลเชื่อมผสมเข้าหากันปรากฏสีเฉดขั้นที่ 2 และ 3 ตามมา
เพื่อแสดงหลักการทางวิชาการ
3. ผู้เขียนไม่ผสมสีในจานสี แต่ให้สีทับซ้อนกันจนเกิดเฉดใหม่ เช่น เมื่อต้องการสีเขียว ก็ระบายสีเหลือง
ั
ึ
�
้
ในส่วนน้น รอจนสีแห้งแล้วจึงใช้สีนาเงินบาง ๆ เป็นแถบทับลงไปก็จะเกิดสีเขียวข้นมาจากหลักการทับ
ึ
ึ
ื
�
ี
ซ้อนและทฤษฎีการเกิดข้นของสี, และทากระบวนการเช่นน้ต่อเน่องไปเร่อย ๆ ซ่งต้องอาศัยเวลาใน
ื
การรอและคอย ไม่เร่งรัดและไม่ละเลย
�
4. ผู้เขียนยังได้เปิดเผยลาดับของสี Color Theory ไว้บนผลงานด้วยคือใช้แม่สีปฐมภูมิ เหลือง, แดง, นาเงิน
้
�
และแถบสีรูปจุดกลม ๆ ฝั่งขวาของภาพคือ สีชุดที่ 1 และแถบสีชุดที่ 2 ที่เกิดจากแม่สี และแถบสีชุด
ื
ื
ี
ั
ื
ี
ี
ท่ 3 เกิดจากสีชุดท่ 2 ผสมกันต่อเน่อง และต่อเน่องไปอีกเร่อย ๆ ท้งน้เพ่อแสดงความสาคัญของ ทฤษฎ ี
�
ื
และแก่นแท้ของศิลปะ การเกิดขึ้นของสุนทรียศาสตร์
ึ
5. ผู้เขียนใช้สีโทนร้อนสร้างส่วนท่โดนแสงบนรูปทรง และใช้โทนเย็นสว่าง เป็นเงาอีกฝั่งหน่งทาให้รูปทรง
ี
�
ั
ี
ั
เกิดปริมาตร ด้วยความรู้สึกว่าแสง - เงา มีปริมาตร ท้งท่ค่านาหนักขาว – เทา - ดา ของภาพน้นน้อยมาก
�
�
้
คือภาพที่มีค่าน�้าหนักเพียงเทาอ่อน - เข้ม และใช้สีลวงตาและประสาทรับรู้ของมนุษย์อย่างสัมฤทธ์ผล
ซึ่งเป็นศักยภาพและทฤษฎีการประกอบสร้างที่ผู้เขียนสังเคราะห์มาจากวิธีคิดของท่านอาจารย์
101 | จิตรกรรมภาพคน PORTRAIT PAINTING