Page 99 - Portrait Painting
P. 99

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทวี นันทขว้าง
                                                                       ี
                        - ศิลปะแนวทางเรียลลิสม์ (Realism) ปลายคริสต์ศตวรรษท่ 19 ต้น 20 คือการถ่ายทอดความจริง
                                                                                        �
                  ท้งนามธรรมและรูปธรรม โดยเฉพาะข้อเท็จจริง (Fact) น้นเป็นเคร่องมือทางภาษาอันสาคัญ ความจริง
                   ั
                                                                ั
                                                                        ื
                  ข้อเท็จจริงปรากฏต่อเนื่องกันได้ โดยเรียนรู้จากธรรมชาติ วิถีชีวิตที่เป็นอยู่ มิใช่จินตนาการอันฟุ้งเฟ้อ
                        - ศิลปะแนวทางเซอร์เรียลริสม์ (Surrealism) ค.ศ. 1917 เรื่องของภาวะจิตไร้ส�านึก (Id) คล้าย
                                                                     �
                  สัญชาตญาณ (Instinct) ส่วนต่อมาคือบุคลิกภาพ (Ego) คือสานึกรู้สึกตัวเองและขอบเขตของสังคม
                  และส่วนที่ 3 คือ เรื่องบรรทัดฐานของสังคมศีลธรรมค่านิยม (Super Ego) ลัทธิศิลปะนี้อ้างทฤษฎีจิต

                  วิเคราะห์ ซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) ส่วนหนึ่งและสืบเนื่องมาจากสงครามโลกอีกส่วนหนึ่ง
                  ท�าให้ศิลปะแสวงหาความเข้าใจเรื่อง จิต - อารมณ์ มากกว่าเหตุผล และความรุนแรง
                        อาจารย์ทวี นันทว้าง สร้างสรรค์จิตรกรรมโดยใช้ 2 หลักการทางศิลปะคือ ศิลปะลัทธิสัจนิยม

                             ี
                  (Realism) ท่มีลักษณะแสดงข้อเท็จจริง ตามความเป็นจริงในชีวิตประจาวัน เช่น ทิวทัศน์ ดอกไม้
                                                                              �
                          ี
                  ภาพคน ท่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างธรรมชาติกับชีวิต และลักษณะศิลปะลัทธิเหนือจริง (Surrealism)
                                           �
                   ึ
                  ซ่งเป็นการแสดงออกของจิตใต้สานึกได้อย่างอิสระมีความลุ่มลึกทางอารมณ์ความคิดฝัน ความหวาดกลัว
                  เรื่องเร้นลับ และแดนสนธยา
                                                                                           ี
                        ผู้เขียนจึงเขียนภาพเทคนิคสีอะคริลิคบนผ้าใบภาพน้ด้วยหลักการข้างต้นคือส่วนท่เป็นสัจนิยม
                                                                  ี
                  (Realism) อาจารย์ทวีใช้ธรรมชาติ ผู้เขียนจึงใช้ภาพเขียนธรรมชาติของอาจารย์ทวีรวมท้งภาพใบหน้าด้วย
                                                                                       ั
                  คือใช้วัตถุข้อเท็จจริง ส่วนที่ 2 คือสภาวะเหนือจริง (Surrealism) อาจารย์ทวีใช้การก�าหนดแสงขึ้นเอง

                  ในจิตรกรรม ท�าให้บรรยากาศภาพมีเวลาเร้นลับ ลุ่มลึก ผู้เขียนก�าหนดการล�าดับค่าต่าง ๆ ของน�้าหนัก
                  ภาพ (Contrast) โดยใช้ค่าน�้าหนักกลาง (เทา) ไว้ที่ระยะหน้า (Portrait) และใช้ความมืดจัด สว่างจัด
                  ไว้ที่ระยะหลัง (Background) เพื่อขับเน้นสภาวะเหนือจริง



                        สัญลักษณ์และกลวิธีที่ใช้คือ

                                �
                            1.  ทาไมภาพใบหน้าของท่านจึงมีความเบลอท้งท่อยู่ระยะหน้า ความชัดกับความเบลอ,
                                                                     ี
                                                                   ั
                               ความใกล้และความไกล, ความจริงและนามธรรม ซึ่งผู้เขียนจัดวางไว้สลับต�าแหน่งกัน
                                                                 ึ
                                 ื
                               เพ่อแสดงว่า ความชัดเจนน้นอยู่ระยะไกลซ่งไม่ใช่ความเป็นจริงทางกายภาพ และความ
                                                     ั
                               เป็นจริงคือส่งภายในไม่ใช่ภายนอก ตามหลักการของสัจนิยม (Realistic) ความจริง
                                         ิ
                               ภายนอกและเซอร์เรียลลิสม์ (Surrealism) ความจริงภายในหรือเหนือจริง ซึ่งทั้งหมด
                               นี้คือวิธีการที่อาจารย์ทวีใช้สร้างสรรค์ศิลปะ
                            2.  การกาหนดแสงสว่างและความมืดในภาพข้นมาเองโดยไม่อาศัยความถูกต้องตาม
                                    �
                                                                    ึ
                               กายภาพแสงอาทิตย์นั้นเพื่อให้ "แสง" เป็นตัวแทนของ "จิต” ซึ่ง "เหนือจริง"
                                                             ้
                            3.  ผู้เขียนใช้ชุดสี และวิธีการสร้างค่านาหนักภาพ ตามผลวิเคราะห์จิตรกรรมของท่าน
                                                             �
                               อาจารย์เพื่อเป็นสื่อและสารแสดงถึงตัวตนของท่าน








                                              98 | จิตรกรรมภาพคน PORTRAIT PAINTING
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104