Page 18 - Portrait Painting
P. 18

ประวัติความเป็นมาของภาพบุคคล
                                                  History of Portrait



                  ประวัติของการเขียนภาพบุคคลในตะวันตก

                        หลังจากที่ มาร์เชล ดูชองป์ (Marcel Duchamp) ได้เติมหนวดให้ โมนาลิซา (Mona Lisa) ในปี
                  ค.ศ.1919 ก็ท�าให้ประเด็นทางสุนทรียศาสตร์ของศิลปะมีปัญหา หลังจากที่เขาหยิบโถส้วมซึ่งเป็นสุขภัณฑ์
                                                                                     ั
                  ออกแสดงนิทรรศการแล้วเรียกมันว่า “ศิลปะ” อย่างท้าทายคานิยามก่อนหน้าน้นและเป็นการต่อต้าน
                                                                      �
                  (Anti Art) เมื่อเขาลดคุณค่าอันเข้มขลังของโมนาลิซาลงจนกลายเป็นความขบขัน ความงามจึงกลายเป็น
                  ความอัปลักษณ์ แต่ทั้งสองส่วนนั้นคือความจริงของมนุษย์ที่เกิดขึ้น






















                               Mona Lisa ค.ศ.1503 – 1506                Mona Lisa ค.ศ.1919



                         �
                        ทาไมการนาเสนอแนวคิดใหม่ต่อโลกศิลปะของดูชองป์จึงเลือกหยิบยกภาพโมนาลิซามาใช้เป็น
                                 �
                  ส่อ….. พิจารณาในรายละเอียดจะพบว่าดูชองป์ใช้ภาพโมนาลิซาในฐานะท่เป็น “ภาพ” (Picture) และ
                                                                                ี
                   ื
                                                                      ี
                                                                                                  �
                          �
                                                       �
                  เป็นวัตถุสาเร็จรูป (Ready Made Object) อานาจความงามท่มาจากกระบวนการผลิตและเป็นอานาจ
                  ของสุนทรียศาสตร์แบบคลาสสิคคือ “ยุคเรเนสซองส์” (Renaissance) โมนาลิซา (ค.ศ. 1503 – 1506)
                  โดย ลีโอนาโด ดาวินชี (Leonardo da Vinci) คือภาพผู้หญิงในอากัปกิริยาที่เธอก�าลังจับจ้องมายังหน้า
                  ของเรา คือผู้ชม และอมยิ้มนิด ๆ เหมือนเธอรู้ความลับบางอย่าง.…? มีเรื่องเล่าว่าดาวินชีได้จ้างนักดนตรี
                  และคนเล่นตลกมาให้ความบันเทิงแก่เธอขณะน่งเป็นแบบเพ่อให้โมนาลิซา….. ย้ม..… แสดงว่าดาวินชีกาลัง
                                                                   ื
                                                        ั
                                                                                  ิ
                                                                                                    �
                                                 ิ
                  ทาบางส่งท่แตกต่างออกไป คือไม่ใช่ย้มด้วยปากแบบส่งให้ย้ม แต่เป็นย้มจากภายในจิตใจและอารมณ์ท ี ่
                                                                            ิ
                                                                   ิ
                                                               ั
                   �
                           ี
                         ิ
                           ึ
                                                                               ื
                                          ี
                                              ึ
                  เบกบาน ซ่งเป็นแนวคิดใหม่ท่ลึกซ้งในการเขียนภาพใบหน้าคน (Portrait) เพ่อเข้าถึงอารมณ์อันเป็นส่วนตัว
                    ิ
                         ้
                  ของ “ตนแบบ” ผนวกกับการคิดค้นเทคนิควิธีการเกลี่ยสีให้บรรยากาศเรียบเนียน (Sfumato) ให้ภาพดู
                   ่
                                                                      �
                                                                                                    ั
                                                                     ี
                  ผอนคลาย นุ่มนวล รวมถึงเทคนิคค่าต่างแสง (Chiaroscuro) ท่ทาให้ภาพงดงามคลาสสิค เป็นศิลปะช้นสูง
                          �
                  และเป็นกาแพงสูงท่ข้ามพ้นได้ยากในทัศนะของดูชองป์ ความคิดในทางขยับขยายจึงเกิดข้น “โมนาลิซา” จง ึ
                                  ี
                                                                                         ึ
                  มีหนวด
                        “คิดต่อ - คิดต้าน” จริง ๆ แล้วสิ่งที่มาร์เชล ดูชองป์กระท�าไม่ได้เกิดขึ้นในครั้งแรก แต่เกิดขึ้นซ�้า ๆ
                  ทั้งแนวความคิดสร้างสรรค์และเทคนิควิธีการทางจิตรกรรมตามเส้นทางของประวัติศาสตร์
                                              17 | จิตรกรรมภาพคน PORTRAIT PAINTING
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23