Page 51 - Portrait Painting
P. 51
ี
�
- ข้นตอนการวางแผนและปฏิบัติงานจริง การทาความเข้าใจธรรมชาติและหน้าท่ของวัสดุอุปกรณ์
ั
ี
ั
�
กรรมวิธีทางจิตรกรรม ยังเป็นหนทางในการส่งสมประสบการณ์ในภาคการปฏิบัติท่จะผสานเข้าถึงการกาหนด
ื
ภาพในใจของข้าพเจ้าด้วย เป็นการ “เช่อมอัตลักษณ์” ระหว่างผู้สร้าง (ผู้เขียน) กับแบบบุคคล (ศาสตราจารย์
เกียรติคุณอิทธิพล ตั้งโฉลก)
ี
- เทคนิควิธีการวาดเส้นน้คล้ายกับการทาแม่พิมพ์ซ่งส่วนหน่งถูกพัฒนามาจาก “เทคนิคภาพพิมพ์ร่องลึก
ึ
�
ึ
(Etching) เพื่อสื่อความให้ลึกลงไปถึง “ชีวประวัติ” ของอาจารย์อิทธิพล กล่าวคือ ช่วงแรกเริ่มในการท�างาน
ิ
สร้างสรรค์ของท่านอาจารย์เร่มจากการใช้เทคนิคและสุนทรียะแบบภาพพิมพ์ร่องลึกแล้วจึงพัฒนามาสู่
จิตรกรรมในภายหลัง แต่กลิ่นอายความเป็นระบบ ความปราณีต และความงามแบบภาพพิมพ์ร่องลึกนั้นยัง
คงอยู่
้
�
ึ
ื
�
ี
- เทคนิคการวาดเส้นท่มีเพียงจุด เส้น พ้นผิว และนาหนักซ่งสกัดออกมาจากส่งท่เกินความจาเป็น เช่น
ิ
ี
สีสัน และทัศนธาตุชนิดอื่น จึงมีความพ้องไปกับทัศนะของอาจารย์อิทธิพลที่ว่าการเข้าถึง “สัจจะ” ต้องผ่าน
ื
ี
กระบวนการ “ลด” เสียก่อน กระบวนการวาดเส้นน้จึงมีจุดมุ่งหมายเพ่อย้อนกลับไปสู่ฐานของความเป็น
จิตรกรรมด้วย
ขั้นตอนการท�างาน
1. การเตรียมเฟรมผ้าใบ (Frame - Canvas) เป็นพื้นรองรับ
กระดาษอีกทีเพ่อให้ความยืดหยุ่นหรือมีสปริงมากกว่าการ
ื
ใช้แผ่นกระดานรองรับกระดาษ
2. วัสดุอุปกรณ์การเตรียมเฟรม, กระดาษ,
ิ
กาวลาเท็กซ์, แปรง, ลูกกล้ง และกระดาษ
สา 300 แกรม (พิเศษ)
3. การใช้ลูกกล้งเพ่อให้กาวมีความสมาเสมอ
่
�
ิ
ื
ั
เท่ากันท่วเฟรม และใช้แปรงทากาวใน
ส่วนขอบเฟรมด้านนอก
50 | จิตรกรรมภาพคน PORTRAIT PAINTING