Page 8 - Portrait Painting
P. 8
ค�ำน�ำจำกผู้เขียน
ื
ี
หนังสือ “จิตรกรรมภาพคน (Portrait Painting)” เล่มน้มีจุดมุ่งหมายเพ่อนาเสนอ
�
แนวทางใหม่ ๆ ในการแสดงออกคือ ทั้งส่วนที่เป็นรูปธรรมและนามธรรมของ “แบบบุคคล”
ื
ึ
ซ่งเม่อแบบบุคคลมีความแตกต่างกันท้งบุคลิกภายนอกและตัวตนภายในอย่างไม่มีใคร
ั
ื
ื
่
ั
ั
เหมอนกนกบใครอน จึงเป็นเหตุให้เกิดการขยายขอบเขตของไวยากรณ์ทางจิตรกรรมด้วย
ั
คือ เทคนิควิธีการ กระบวนการและข้นตอนต่าง ๆ จะถูกสร้างข้นอย่างเฉพาะและเจาะจง
ึ
�
ั
ั
้
ื
่
บคคลใดบคคลหนงเท่านน และไม่สามารถนาไปใช้ร่วมกบใครอนได้ เนองจากมนมความ
ื
่
ั
ุ
ี
ุ
ึ
่
“เฉพาะ” ซ่งความ “เฉพาะ” น้ยังเป็นการให้ความเคารพต่อตัวตนของ “แบบ” ซ่งเป็น
ึ
ี
ึ
ิ
ื
ช่องทางให้ผู้สร้างสรรค์ได้รู้จัก เรียนรู้ และเข้าใจ เคารพบุคคลอ่นอย่างถ่องแท้ย่งขึ้น เป็นเหต ุ
ให้เกิดสติปัญญาในวาระต่อ ๆ มา เป็นการเรียนรู้เพ่อละตัวตนหรืออัตตาของตนเองท้งใน
ั
ื
ทัศนคติและต่อการยึดถือเทคนิควิธีการ หรือรูปแบบการแสดงออกทางศิลปะใด ๆ ว่าเป็น
ึ
ของตน ซ่งไม่ใช่ความจริง ในทางกลับกันแนวทางข้างต้นกลับผลักดันให้เกิดความคิด
สร้างสรรค์ทางศิลปะ และกรรมวิธีในการน�าเสนอใหม่ได้อย่างไม่รู้จบ
อย่างไรก็ตามหนังสือ “จิตรกรรมภาพคน (Portrait Painting)” เล่มนี้ยังได้เรียบเรียง
ประวัติความเป็นมาของ “จิตรกรรมภาพคน” ในอดีตจนถึงปัจจุบันของไทยและตะวันตก
ั
รวมมาไว้ให้เป็นแนวทางพอสังเขป รวมท้งมีผลงานสร้างสรรค์ “จิตรกรรมภาพคน” ของศิลปิน
ท่านอื่น ๆ ที่เป็นศิลปะร่วมสมัยในปัจจุบันมาน�าเสนอไว้ด้วย เพื่อเป็นการเชื่อมองค์ความรู้
เข้าด้วยกันพร้อมทั้งวิเคราะห์ เรียบเรียงและน�าเสนอองค์ความรู้ไว้อย่างเป็นขั้นเป็นตอนเพื่อ
เป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจค้นคว้า “จิตรกรรมภาพคน” ต่อไป
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธณฤษภ์ ทิพย์วารี
หัวหน้าภาควิชาจิตรกรรม
คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์
มหาวิทยาลัยศิลปากร