Page 44 - นิตยสารธัมมวิโมกข์ ฉบับปฐมฤกษ์
P. 44
ี
สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว เราก็ต้องเอาทุกอย่างในโลกท่มีอยู่มาเป็น
ื
ิ
ธรรมะเคร่องปฏิบัต มาเป็นครูสอนเราแล้วก็เพลงมันจะสอนคนได้อย่างไร
แต่ความจริงเพลงสอนคนไม่ได้ คนต้องสอนตัวเอง เอาเพลงเข้ามาเป็นคร ู
ถ้าหากว่าเราหวังจะเอาเพลงเข้ามาเป็นครูด้านสมถภาวนาก็ฟังกันอย่างนี ฟัง
้
ี
ั
เพลงท่ชอบใจหรือไม่ชอบใจก็ตามดี ต้งใจฟังมันจนจบ เอาจิตจับไว้เสมอว่า
ี
เพลงน้มีลีลาเป็นอย่างไร มีเสียงสูงเสียงตา มีเสียงเบส มีเสียงแหลม แล้วก ็
่
�
ี
ุ
ั
ี
การดดสีดีดเป่าทุกจงหวะการตทกครงเราจะไม่ยอมให้เสียงนี้ขาดไปจากห ู
้
ั
เรา จิตใจเราจะกาหนดไว้เสมอในขณะท่เขาบรรเลงจะไม่ยอมให้เสียงเพลง
�
ี
นิตยสารธัมมวิโมกข์
ู
ั
ขาดจากห ใจจะตามรู้เสียงเพลงตลอดเวลา แล้วก็เวลาน้น เราจะไม่ยอมใช้
ื
ื
อารมณ์อ่นเข้ามาคิด ไม่ยอมให้อารมณ์อ่นเข้ามาแทรก จิตจะจับอยู่เฉพาะ
เสียงเพลงอย่างเดียว ถ้าจิตจับอยู่เฉพาะเสียงเพลงอย่างเดียวอย่างนี้จะเป็น
ี
�
สต น่เป็นการรวบรวมกาลังใจให้จับอยู่กับกระแสของเพลงหรือเสียงของ
ิ
ี
เพลง ทีน้เมื่อก�าจัดเสียงเพลงได้ตลอดจบไม่ขาดสายก็แสดงว่าจิตของเราเป็น
สมาธ มีสติใช้ได้ ทีน้มาถึงสัมปชัญญะต้องรู้ว่าเสียงเพลงท่ออกมาเป็นเสียง
ี
ิ
ี
หนักหรือเสียงเบา เสียงหุ้มหรือเสียงแหลม ช่วงจังหวะสั้นหรือยาว อย่างน ี ้
เป็นสัมปชัญญะ ต้งอารมณ์จิตให้มันตรงอยู่โดยเฉพาะเสียงเพลงตามที่กล่าว
ั
้
มาอย่างนี เป็นสมถภาวนา
ี
แต่น่สมถภาวนามันก็มีต่อไปอีก เอาเสียงเพลงเป็นครูของเรา ต้องนึก
ี
ว่าเสียงเพลงมันดังมาได้ตามสถานด้วยกันคือ หน่งเคาะ สองส สามเป่า หรือ
ึ
ึ
ว่ามันจะมาทางไหนได้อีกก็ตามใจ ส่วนใหญ่ๆ เสียงเพลงจะมีข้นได้ก็ได้จาก
40