Page 48 - นิตยสารธัมมวิโมกข์ ฉบับปฐมฤกษ์
P. 48
ี
ประการท่สอง เคร่องดนตรีส�าหรับบรรเลงตั้งแต่ต้งโลกมาถึงปัจจุบัน
ั
ื
้
ี
เคร่องดนตรีท่พังไป สลายไปน นับไม่ถ้วน น่มันเข้าสภาพอนัตตา เจ้าของจะ
ี
ื
ี
ื
ี
ปรับปรุง จะซ่อมแซมเป็นประการใดก็ตามท เคร่องดนตรีมันไม่ทรงตัว และ
ก็คนฟังเสียงดนตรีล่ะ ฟังก่คน ฟังเท่าไรตายหมดเท่าน้น มันก็เป็นอนัตตา
ี
ั
ี
นี่การฟังเสียงดนตร ถ้าฟังเป็น เราก็เป็นพระอรหันต์ได้ ถ้าจะถามว่า
คนพูดน่ะ เคยใช้เสียงดนตรีประกอบการปฏิบัติสมถกรรมฐาน หรือวิปัสสนา
กรรมฐานหรือเปล่า
ความจริงพระพุทธเจ้าท่านทรงห้ามว่า ถ้าเทศน์ อย่าอ้างตัวเองเป็น
นิตยสารธัมมวิโมกข์
ื
ี
�
สาคัญ แต่ว่าเร่องน้เราพูดกันตามหลักของความเป็นจริง ก็ต้องขอบอกว่าใช้
มามาก เพราะยามปกตเป็นคนชอบเล่นดนตรี แต่ว่าเป็นดนตรีไทยเดิม เร่อง
ิ
ื
่
ดนตรีนี เสียงเพลงใดก็ตาม ใครเขาจะบรรเลงกันท่ไหนเป็นนักขโมยเพลง
ี
ี
ื
เก่าท่สุด อย่างเพลงพ้นๆ ธรรมดาๆ ฟังจบเดียวก็เอาไปกินเลย น่นักขโมย
ี
เพลง เพลงตับยาวๆ เช่น ตับนาคบาศ พรหมมาศ นางนาค และนางลอยอย่าง
ั
้
ื
ั
น ถ้าใครบรรเลงให้ฟังเพียง 2 คร้ง เอาไปกินหมด ท้งเน้อเพลงและบทร้อง
ี
เอาไม่เหลือ และดีไม่ดีก็ชอบแต่งต่อเติม วางแบบวางแผนคิดเองเสมอ ว่าอ ี
ั
ตอนน้คนเขาท�าแบบน ตอนน้นคนเขาทาแบบน้น มันดีไม่พอ หรือบางทีมัน
ี
ี
้
�
ั
ก็ดีเหมือนกัน เวลาประชันกัน ถ้ามันเหมือนเขาเราก็เอาชนะเขาไม่ได้ แล้วก ็
ิ
ื
�
ี
ต่อโน่น เติมน่เสียนิดหน่อย ของเก่าเขาทาไว้ดีแล้ว คนเร่มต้นใหม่เหน่อยแย่
ื
ื
แต่เรามาแก้ไข ดัดแปลง เหน่อยน้อยสบาย เราก็มีอารมณ์สบาย ในเม่อเราม ี
อารมณ์สบาย เพราะอะไรเพราะเราเอาของเขามาใช้
44