Page 31 - เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาสังคมศึกษา 3 ม.2
P. 31
เอกสารประกอบการเรียน สาระการเรียนรู้เศรษฐศาสตร์ 30
หน่วยการเรียนรู้ที 3
ั
การพฒนาการผลิตในท้องถิ นตาม
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยง
ี
ความเป นมาของเศรษฐกิจพอเพยง ี
ี
เศรษฐกิจพอเพยงเปนปรัชญาทีพระบาท
สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมี
พระราชดํารัสแก่ชาวไทยนับตั งแต่ พ.ศ. 2517
ู
เปนต้นมา และถูกพดถึงอย่างชัดเจนในวันที
ื
4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 เพอเปนแนวทางการ
แก้ไขวิกฤตการณ์ทางการเงินในเอเชียพ.ศ.
2540ให้สามารถดํารงอยู่ได้อย่างมั นคงและยั งยืน เงื อนไขความรู้ มีความรอบรู้เกียวกับวิชาการต่างๆ
ในกระแสโลกาภิวัตน์และความเปลียนแปลงต่างๆ ทีเกียวข้องรอบด้าน
เงื อนไขคุณธรรม มีความตระหนักใน คุณธรรม
มีความซือสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความ
เพยร ใช้สติปญญาในการดําเนินชีวิต
ี
ิ
ปญหาการผลิตสนค้าและบริการในท้องถิ น
ื
ั
1. ปญหาขาดการรวมกลุ่มเพอพฒนาเครือข่าย
(ขาดการรวมกลุ่ม)
2. ปญหาด้านการจัดการ
(ไม่ได้รับการสนับสนุน ทั งความรู้และเงินทุน)
หลักการของเศรษฐกิจพอเพยง ี 3. ปญหาด้านการตลาด
1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีทีไม่ (รูปแบบบรรจุภัณฑ์ไม่ทันสมัย)
น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียน 4. ปญหาด้านการผลิต
ตนเองและผู้อืน เช่น การผลิตและการบริโภคทีอยู่ (ขาดเครืองมือทีทันสมัย)
ในระดับพอประมาณ 5. ปญหาด้านการเงินและแหล่งเงินทุนตํ า
2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกียวกับ (ขาดทักษะการบริหารการเงิน)
ี
ระดับความพอเพยงนั น จะต้องเปนไปอย่างมี 6. ปญหาด้านเทคโนโลยี
เหตุผล โดยพจารณาจากเหตุปจจัยทีเกียวข้อง (ขาดเทคโนโลยีมาช่วยในการดําเนินงาน)
ิ
ตลอดจนคํานึงถึงผลทีคาดว่าจะเกิดขึ นจากการก 7. ปญหาขาดการสนับสนุนจากภาครัฐ
ระทํานั น ๆ อย่างรอบคอบ (ขาดการสนับสนุนจากภาครัฐ)
3. ภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับ
ผลกระทบและการเปลียนแปลงด้านต่าง ๆ ทีจะ
เกิดขึ น โดยคํานึงถึงความเปนไปได้ของ
สถานการณ์ต่าง ๆ ทีคาดว่าจะเกิดขึ นในอนาคต
ภาพปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยง ี ภาพเกษตรทฤษฎีใหม่
https://district.cdd.go.th/muang-sukhothai/wp- https://scontent.fbkk5-6.fna.fbcdn.net/v/t1.6435-
content/uploads/sites/746/2020/01/6_1_4-SEP_TH1.png
9/43505727_1827013457346805_5798475083919917056_n.jpg?
นายวันชนะ ด้วงโยธา