Page 33 - เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาสังคมศึกษา 3 ม.2
P. 33
เอกสารประกอบการเรียน สาระการเรียนรู้เศรษฐศาสตร์ 32
หน่วยการเรียนรู้ที 4
ิ
การคุ้มครองสทธิของ
ตนเองในฐานะผู้บริโภค
ิ
การรักษาและคุ้มครองสทธิประโยชน์ของผู้บริโภค
คําว่า “ผู้บริโภค” ตามพจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้ความหมายไว้ว่า ผู้ซือหรือได้รับ
บริการ จากผู้ประกอบธุรกิจ และหมายความรวมถึงผู้ซึ ง กฎหมายคุ้มครองสทธิผู้บริโภค
ิ
ื
ได้รับการเสนอ หรือชักชวนจากผู้ประกอบธุรกิจเพอให้ซือ
สินค้า หรือรับบริการด้วย พรบ. คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 แก้ไข
“ผู้บริโภค” ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค เพ มเติม
ิ
หมายถึง “ผู้ซือหรือผู้ได้รับบริการจากผู้ประกอบธุรกิจ 1.สิทธิทีจะได้รับทราบข้อมูลเกียวกับ
หรือผู้ซึ งได้รับการเสนอ หรือชักชวนจากผู้ประกอบธุรกิจ สินค้าหรือบริการอย่างถูกต้อง
เพอให้ซือสินค้าหรือบริการ และหมายความรวมถึง ผู้ใช้ 2.สิทธิทีจะมีอิสระในการเลือกหาสินค้า
ื
สินค้าหรือผู้ได้รับบริการจากผู้ประกอบธุรกิจโดยชอบแม้ 3.สิทธิทีจะได้รับความปลอดภัยจาก
มิได้เปนผู้เสียค่าตอบแทนก็ตาม” การใช้สินค้าหรือบริการ
สรุป “ผู้บริโภค” หมายถึง ผู้ใช้สินค้าและบริการใน 4.สิทธิทีจะได้รับความเปนธรรมในการ
ระบบเศรษฐกิจ ทําสัญญา
5.สิทธิทีจะได้รับการพจารณาและ
ิ
มาตรการทมีลักษณะป องกัน ชดเชยความเสียหาย
ี
มาตรฐานก่อนการซือขาย เช่น การกําหนดควบคุม
มาตราฐานสินค้า พรบ. ความรับผิดชอบต่อความเสยหายที
ี
มาตรการทเกยวเนองกับสินค้า เกิดขึ นจากสนค้าที ไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551
ื
ี
ิ
ี
การกํากับดูแลการขายตรง 1.ผู้ประกอบการทุกคนต้องร่วมกันรับ
กําหนดมาตรฐานของสัญญาทีเปนธรรม ผิดชอบต่อผู้เสียหาย
มาตรการในการแก้ป ญหา 2.ผู้ผลิตตามคําสั งของผู้ว่าจ้างไม่ต้อง
มาตรการหลังการซือขาย เช่น ชดเชยค่าเสีย ความ รับผิดชอบ
ิ
รับผิดชอบของผู้ผลิต 3.ผู้เสียหายไม่จําเปนต้องพสูจน์ว่า
ความเสียหายเกิดจากการกระทําของ
ผู้ประกอบการ
4.นอกจากค่าสินไหมทดแทนแล้ว
ผู้เสียหายยังได้รับค่าเสียหายต่อจิตใจ
5.อายุความการเรียกร้องค่าเสียหาย
มีกําหนด 3 ป นับตั งแต่รู้ความเสีย
หายและทราบตัวผู้ประกอบการ หรือ
10 ปนับตั งแต่ขายสินค้า
ภาพผู้บริโภค
https://thestandard.co/wp-content/uploads/2021/03/COVER-ON-THIS-DAY-15-
MAR.jpg
นายวันชนะ ด้วงโยธา