Page 14 - 1-ebookสายอากาศ
P. 14
4
นับตั้งแต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2551 มีผลใช้บังคับเป็นต้นมาถึงปัจจุบัน
[6]
ประเทศไทยโดย คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.)
ได้ออกใบอนุญาตให้มีการจัดตั้งเพื่อทดลองการออกอากาศแก่วิทยุชุมชนเพื่อเป็นสถานีหรือจุดปฏิบัติการ
การเรียนรู้ มีวิทยุชุมชนเกิดขึ้นเป็นจำนวนกว่า 6,000 สถานี ทำให้เกิดปัญหาด้านการเบียดแทรกรบกวน
กันของคลื่นความถี่เดียวกัน (Co-Channel) และคลื่นข้างเคียง (Adjacent Channel) ส่งผลให้ผู้ฟังในบาง
พื้นที่รัศมีการกระจายเสียงของสถานีวิทยุจุฬาฯถูกวิทยุชุมชนรบกวนจนไม่สามารถรับฟังสถานีวิทยุจุฬาฯได้
3. วัตถุประสงค์
1. วัดและทดสอบการแพร่กระจายสัญญาณคลื่นของสถานีวิทยุแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ในพื้นที่กรุงเทพปริมณฑลและต่างจังหวัด
2. วิเคราะห์รัศมีการแพร่กระจายคลื่นเครื่องส่งของสถานีวิทยุแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
FM.101.5 MHz
3. สังเคราะห์ขอมูลการแพร่กระจายคลื่นของสถานีฯเพื่อวางแผนพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพเพม
ิ่
้
ช่องทางให้หลากหลายช่องทางด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ทั้งด้านภาพและเสียงแก่ผู้ฟัง
4. ขั้นตอนการดำเนินงาน
ั
ทำการติดตั้งอุปกรณ์วัดและทดสอบบนรถปิคอพของสถานีฯ ซึ่งประกอบด้วย
- Spectrum Analyzer ยี่ห้อ Agilent รุ่น E 4402 3 GHz.
ิ
- สายอากาศยาก ไดโพล 5 อิลิเมนต์ พร้อมชุดอุปกรณ์ควบคุมเสาหมุน
- ชุดแปลงกระแสไฟฟ้า DC to AC Inverter Transformer 12 to 220 V. 250 Watts
- สายนำสัญญาณ RG-6 พร้อมหัวเชื่อมต่อสายสัญญาณ
- เครื่องรับวิทยุพร้อมสายอากาศ High Gain GM-500 ติดรถยนต์ย่าน FM
5. วิธีการดำเนินงาน
การวัดและทดสอบสัญญาณแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
ื้
1.พื้นที่ต่างจังหวัดที่สามารถรับสัญญาณจากสถานีวิทยุจุฬาฯได้และทดสอบสัญญาณในพนที่ที่มี
วิทยุชุมชนที่ส่งความถี่ 101.5 MHz, 101.25 MHz, 101.75 MHz เป็นคลื่นข้างเคียงและคลื่นทับซ้อน
2. เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลวัดสัญญาณของสถานีวิทยุชุมชนที่ส่งคลื่นความถี่ 101.25
MHz แล ะ101.75 MHz ส่งคลื่นข้างเคียงที่รบกวนคลื่นหลักของทางสถานีวิทยุจุฬาฯ