Page 11 - 1-ebookสายอากาศ
P. 11

1





                                                                 ่
                                                           บทที 1

                                                            บทนํา




                                      
                            1. ความเปนมา
                                                                                         
                                       ี
                            สายอากาศท่ใชรับสัญญาณโทรทัศนภาคพ้นดินแบงตามโครงสรางออกไดเปน 2 ชนิดหลัก [6]
                                                               ื
                                                                                  
                                         ั
                      ื
                     คอ สายอากาศชนิดติดต้งภายนอกอาคาร (Outdoor antenna)หรือเสากางปลา และสายอากาศชนิด
                         ั
                                                                               ั
                                                                   ่
                                                                 ุ
                                                                 
                                                                   ึ
                                                                                           
                     ติดต้งภายในอาคาร (Indoor antenna) หรือหนวดกง ซงสายอากาศท้ง 2 ชนิดจะมขอเดนและขอดอย
                                                                                                       
                                                                                              
                                                                                          ี
                     ตางกันคือ สายอากาศแบบกางปลานั้นถกคานวณออกแบบไวที่ครึ่งของความยาวคลื่นของความถใชงาน
                                                                                                    ี่
                                                        ํ
                                                      ู
                     โทรทศนระบบดิจิทัล จึงมีขนาดใหญแตสามารถรับสัญญาณไดแรง  มีปญหาในการติดตั้งที่ยุงยากตองใช
                         ั
                     ชางที่มีความชํานาญเพราะมีขนาดใหญและตองติดตั้งไวภายนอกอาคาร สําหรับผูที่อาศัยในอาคารชุดจะ
                                                        ุ
                     มีขอจํากัดมากมาย สายอากาศแบบหนวดกงจึงเปนทางเลือก    แตเนื่องจากเครื่องรับโทรทศนรุนใหมท ี่
                                                                                                        
                                                                                                ั
                     เปนจอแบนชนิด LCD, Plasma หรือ LED จะถูกออกแบบใหยึดติดกับผนังหองเพอความสวยงามและไม 
                                                                                       ื่
                              ี่
                                                                                                      ุ
                                                                                                        ี
                     เปลืองพื้นทจึงทําใหไมมีพื้นที่ดานบนหลังจอเครื่องรับโทรทัศนแบบตูไวสําหรับตั้งสายอากาศหนวดกงอก
                                                                                          
                                                                                         ี
                      
                     ตอไป  สําหรับวัสดุที่เปนตัวนําคลื่นสนามแมเหล็กไฟฟาไดดีที่สุดไดแก วัสดุเงินซึ่งมคาความตานทานต่ํา
                                                                 
                                                           ี
                                                                        
                                                          ี
                     จึงทําใหกระแสไฟฟาสามารถไหลผานไดดท่สุดรองลงมาไดแก ทองแดง ทองคํา อลูมิเนียม ในเชิง
                         ิ
                                                                                  
                                                                                           ื
                     พาณชยแลวจะเห็นวาวัสดทนํามาผลิตสายอากาศสําหรับการจําหนายในทองตลาดคออลูมเนียมเพราะ
                                                                                                ิ
                                           ุ
                                            ่
                                            ี
                     น้ําหนักเบา เกิดการผุกรอนเปนสนิมชา ราคาถูกจึงทําใหตนทุนในการผลิตต่ํา
                                        
                            ในงานวิจัยนีกอนหนานี้เปนการสรางสายอากาศไมโครสตริปบนแผนปริ๊นซ FR-4 ความหนา
                                       ้
                                                                                           
                                                                               ี
                                                                               ่
                                                                                             ๊
                                                                   ่
                     1.6 มิลลิเมตร โดยออกแบบลายวงจรสายอากาศทเปนทองแดงทฉาบบนแผนปรินซลงบนแผน
                                                                   ี
                                                                                                   
                     สายอากาศ แมวาสายอากาศจะมีขนาดกะทัดรัดเหมาะสมสําหรับการใชงานแตจะมีความแข็งไมยืดหยุน
                     กับการใชงานในบางพื้นผิว เชน ผนังกระจกโคง จอทีวีแบบโคงหรือกระจกรถยนตที่มีความโคง  งานวิจัย
                                                                                                        ั
                     นี้จะมงเนนการออกแบบและสรางสายอากาศสําหรับรับสัญญาณภาพจากสถานีโทรทัศนระบบดิจิทล
                          ุ
                          ื
                     ภาคพ้นดิน (Terrestrial) [8] ตัวสายอากาศสรางจากวัสดุโพลีไอมายดชนิดฟลมบาง [5] ท่มีคุณสมบัต ิ
                                                                                                ี
                     ทนสารเคมและอณหภูมิที่ความเย็นไดต่ํากวาติดลบ 70 C และทนความรอนสูงกวา 300 C มีความออน
                                                                                             o
                              ี
                                   ุ
                                                                 0
                                                     
                                        
                                                                                  ้
                                                                                                         ั
                                                                       ็
                                                                         
                                                          ื
                     ตัวมขนาดบางโคงงอไดมลักษณะยืดหยุนเหมอนแผนฟลมเอกซเรย เปนชินสวนสําหรับประกอบบนตว
                                         ี
                        ี
                     ดาวเทียมที่ลอยอยูในอวกาศ สายอากาศแบบออนนี้สามารถบิดตัวเขารูปเมอนําไปติดตั้งใชงานกบพ้นผิว
                                                                                  ื่
                                                                                                      ื
                                                                                                   ั
                     เชนผนังหองหรือติดกับผนังกระจกหรือฝงไวในแผนกระจกจึงดูเรียบรอยสวยงามแตประสิทธิภาพการรับ
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16