Page 13 - 1-ebookสายอากาศ
P. 13
3
ออกแบบวงจรภาคขยายสัญญาณฝงลงบนแผนสายอากาศ (Active Antenna) จึงเปนการทําใหเพ่ม
ิ
ประสิทธิภาพการรับสัญญาณในพื้นที่ที่มีระดับสัญญาณออนใหสูงขึ้น
2. วัตถุประสงค
1 ออกแบบและสรางสายอากาศไมโครสตริปแบบโมโนโพลชนิดออนทมีภาคขยายสัญญาณฝง
ี่
ลงในตัวสายอากาศสําหรับรับสัญญาณโทรทัศนดิจิทัลภาคพื้นดิน
2 วัดและทดสอบสายอากาศตนแบบที่สรางขึ้น 4 ขั้นตอนเพือใหทราบคาประสิทธิภาพ
่
อัตราขยายของสายอากาศเปรียบเทียบกับสายอากาศที่จําหนายในทองตลาด
3 เปนนวัตกรรมในการพัฒนาสายอากาศแบบใหมโดยนักวิจัยคนไทยนําไปสูการจดสิทธิบัตร
3. การดําเนินการวิจัย
ออกแบบสายอากาศชนิดออนไมโครสตริปโมโนโพลลงบนแผนวัสดุ Flexible Polyimide Film
ี
ดวยโปรแกรม CST MWS ออกแบบวงจรภาคขยายสัญญาณยานความถ 510- 790 MHz ซงเปนยาน
ึ
่
่
ี่
ความถท ITU กําหนดใหใชงานการแพรสัญญาณภาพโทรทัศนระบบดิจิทัลภาคพ้นดินมาตรฐานยุโรป
ื
ี่
ื
่
(DVB-T2) เม่อสรางสายอากาศตนแบบจนไดคาพารามิเตอรทเหมาะสมทสุดแลว จากนั้นนําสายอากาศ
ี
ี
่
้
่
ั
ี
ํ
้
ตนแบบไปวัดและทดสอบ 4 ขนตอน ไดแก ขนตอนท 1 ติดตั้งและทาการวัดในหองปฏิบัติการวิจัยคลื่น
ั
ื่
แมเหล็กไฟฟา (Lab test) ดวยเครื่องวิเคราะหโครงขายคลื่นแมเหล็กไฟฟา (Network Analyzer) เพอ
หาคา Return loss, คา Voltage Standing Wave Ratio : VSWR, และคา Input Impedance
ิ
ั
้
ี
ข้นตอนท 2. นําสายอากาศไปตดตงวัดและทดสอบสัญญาณภาคสนามบนดาดฟาชั้น 20 อาคารเจริญ
ั
่
ื
วิศวกรรม (Field test) รวมกับสายอากาศไดโพลมาตรฐานและชุด Rotor Controller เพ่อนํา
ขอมูลคํานวณหาคา Radiation Pattern, คา Forward Gain คา Front to Back Ratio และคา Beam
ี
่
width ของสายอากาศ [7] ข้นตอนท 3 นําสายอากาศมาตดตงหนากระจกในรถยนตแลวทดสอบท ี ่
้
ิ
ั
ั
ื
ี
ความเร็วตาง ๆ เพ่อหาประสิทธิภาพและวัดระดบสัญญาณบนทองถนนในพ้นท่ กทม.ปริมณฑลและ
ั
ื
ตางจังหวัด (Drive Test) เพื่อเปนขอมูลเปรียบเทียบกับขอมูลของ กสทช. ขั้นตอนที่ 4 นําสายอากาศ
ั
ั
ติดต้งใชงานในสภาพแวดลอมใชงานจริง ติดต้งกับผนังหอง ผนังกระจกหรือบริเวณใกลเครื่องรับ
โทรทัศนใชงานจริง (Indoor Reception Test) เพ่อตรวจวัดระดับความเขมสัญญาณวามีความแรง
ื
ระดับเทาใดดวยเครื่องมอวัดความเขมสนามแมเหล็กไฟฟา (Field Strength Meter) คาพารามเตอร
ื
ิ