Page 24 - 1-ebookสายอากาศ
P. 24
14
2.5 คาเรโซแนนท
การออกแบบและสรางสายอากาศใชงานท่คากาธร (Resonant) คือการทาใหคา XL = XC
ี
ํ
ํ
การออกแบบสายอากาศชนิดโมโนโพลแบบเสนขดวกวนนั้นโครงสรางของสายอากาศจะประกอบดวย
โมโนโพลเสนขดวกวนตอกับจุดปอนสัญญาณ (Feed line) ซ่งมีระนาบดิน (Ground plane)
ึ
ั
ั
ี
อยูดานขางของวัสดุฐานรองเชื่อมตอกบเสน Sleeve line ปลายอกดานหนึ่งของสายปอนจะตอกบ
่
ั
ึ
ั
่
ตวเชือมตอชนิด RF Connector ซงจะเปนข้วขาเขา (Input terminal) ของสายอากาศ ปลายขาง
ี
ั
ิ
หนึ่งเชื่อมตอกบระนาบดนของวัสดุฐานรอง สายอากาศท่เปนโมโนโพลเสนขดวกวนจะมีขอดกวาเปน
ี
ี
ี
โมโนโพลแบบเสนตรง (Straight monopole) เนื่องจากท่ความถ่เรโซแนนซเดียวกันโมโนโพล
เสนขดวกวนจะมีความยาวนอยกวาโมโนโพลเสนตรง จึงทําใหสามารถออกแบบสายอากาศท่มขนาด
ี
ี
โดยรวมเล็กกวาได ขอดีอีกประการหนึ่งในการเลือกออกแบบและสรางสายอากาศชนิดนี้คือกระบวนการ
ผลิตใชเทคโนโลยีวงจรพิมพ (Printed Circuit Board Technology) สามารถออกแบบใหใชงานรวมกบ
ั
วงจรรวม (Monolithic Microwave Integrated Circuit : MMIC) ซงเปนองคประกอบของภาคสง
ึ่
ี
ี
หรือภาครับสัญญาณบนแผนวงจรเดยวกนได มีโครงสรางงายไมซับซอนในการผลิต มรูปแบบการแผ
ั
ุ
พลังงานกระจายท่วทกทิศทาง (Omni-directional radiation pattern) จึงสามารถรับสัญญาณไดด ี
ั
ึ
ิ
ิ
จากทุกทศทาง เหมาะแกการใชรับสัญญาณภาพโทรทัศนซ่งอาจสงมาจากทศทางใดๆ สําหรับแนวคด
ิ
ุ
ํ
ในการออกแบบนี้อาศัยทฤษฎีหลักการ ทําอยางไรทาใหสายอากาศทออกแบบถกกระตนใหทางาน
ํ
ี
ู
่
่
ี
่
ื
ในสภาวะเรโซแนนซ (Resonant mode) เพอใหมสมรรถนะความถกวางครอบคลุมตลอดชวงแถบ
ี
ี
ี
ี่
ี่
ความถ่ใชงานท่ตองการ คือชวง Band IV และ Band V โดยกําหนดความถกลางอยูท 620 MHz
่
คาอิมพีแดนซขาเขาของโมโนโพลใหเปนคา 75 โอหม และเชื่อมตอกับ RF Connector ทีม ี
คาอมพิแดนซ 75 โอหมตอเขาเครื่องรับ [8] เหตผลในการออกแบบสายอากาศแบบโมโนโพลแบบเสน
ิ
ุ
ขดวกวน ม 5 ประการคอ
ี
ื
ื
1. การออกแบบสายอากาศเพอใหไดการโพลาไรซแบบวงกลม (Circular polarization) จะตอง
่
ไมออกแบบแพตซเปนรูปสี่เหลี่ยม (Rectangular patch) ท่มีการโพลาไรซแบบเสนตรง (Linear
ี
polarization) จึงเลือกออกแบบเปนเสนขดวกวน
2. การออกแบบโมโนโพลแบบเสนขดวกวนเปนการเพ่มทางเดินของกระแส (Current path)
ิ
ไดมากขน หากเปรียบเทยบกับสายอากาศโมโนโพลธรรมดาจะตองออกแบบเปนเสนตรงทมความยาว
ึ
้
่
ี
ี
ี
เปนหนึ่งในสี่ของความยาวคลื่น ทําใหสายอากาศที่ไดมีขนาดใหญ