Page 27 - 1-ebookสายอากาศ
P. 27

17





                            1.  แผนตัวแผพลังงาน  (Radiator)  โดยทั่วไปผลิตมาจากทองแดง  เงินหรืออลูมิเนียม  วัสดุที ่

                     เลือกใชจะสงผลตอประสิทธิภาพของสายอากาศ  แผนตัวแผพลังงานอาจมีรูปรางตางๆ  เชน  สี่เหลี่ยม

                     สามเหลี่ยม  วงกลม  วงรี  วงแหวน  เปนตน  ซึ่งรูปรางและขนาดเปนปจจัยทกําหนดความถี่ใชงาน  และ
                                                                                    ี่
                     สงผลตอแบบรูปการแผพลังงาน (Radiation pattern) และอิมพีแดนซดานเขา (Input impedance)

                     ของสายอากาศ

                            2. ชั้นวัสดุฐานรอง (Dielectric substrate) เปนวัสดุฉนวนทางไฟฟา ชนิดวัสดุและขนาดความ
                                                                                   
                                                          ี
                                                                                 
                                                                         ิ
                     หนาของชั้นวัสดุฐานรองเปนปจจัยสําคัญท่กําหนดคุณสมบัตทางไฟฟาและทางกลของสายอากาศ
                                                                                ่
                                                                                ี
                     ไมโครสตริปรวมถึงมีผลตอขนาดของแผนตัวแผพลังงานสําหรับความถใชงานใดๆ ดวย คุณสมบัติทาง
                                           ึ้
                     ไฟฟาของชั้นวัสดุฐานรองขนอยูกับคาคงตัวไดอิเล็กทริก (Dielectric constant)   และคาแทนเจนตการ
                     สูญเสีย (Loss tangent) ของวัสดุ
                            3. แผนระนาบดิน (Ground plane) โดยทั่วไปจะมีขนาดใหญกวาแผนตัวแผพลังงานมาก แตใน
                                                                                                        
                                             ื่
                            ี
                                 ี
                     บางกรณอาจมขนาดเล็กลงเพอลดขนาดของสายอากาศโดยรวมซึ่งจะมีผลทําใหเกิดพูหลัง (Back lobe)
                     และเพมขนาดพูขาง  (Side  lobes)  ของสายอากาศ  เนื่องจากคลื่นที่แผจากแผนตัวแผพลังงานเกิดการ
                                   
                          ิ่
                     เลี้ยวเบนที่บริเวณขอบของแผนระนาบดิน  สําหรับสายอากาศแบบรอบทิศทางในระนาบเดี่ยวอาจมีแผน
                               ี่
                     ระนาบดินทมีขนาดเล็กได เนื่องจากไมไดตองการลักษณะสมบัติการแผพลังงานไปในทศทางเดียว
                                                                                           ิ
                                                    
                            4. ระบบปอนกําลัง (Feed system) ทําหนาที่ควบคุมการสงสัญญาณไปยังแผนตัวแผพลังงาน
                     ระบบปอนกําลังเปนปจจัยสําคัญที่มีผลตอกระแสกระตุนบนแผนตัวแผพลังงาน  ซึ่งจะสงผลกระทบตอ

                     ลักษณะเฉพาะของสายอากาศ  เชน  รูปแบบการแผพลังงานและโพลาไรเซชัน  นอกจากนีพลังงานที   ่
                                                                                                 ้
                     สูญเสียในระบบปอนกําลังยังมีผลตอประสิทธิภาพของสายอากาศ

                                                   ่
                                                   ี
                                                                                  ี
                                                                                  ่
                                                                                              ี
                                                         ึ
                            โครงสรางของสายอากาศทสรางข้นจะประกอบดวยโมโนโพลทออกแบบใหมรูปรางเปนขด
                                                        ิ
                                 ั
                     วกวนเรียงตอกนสรางบนวัสดฐานรองไดอเล็กตริก (Dielectric substrate) เชน Flexible Polyimide
                                              ุ
                               
                                                                             ี
                     PCB สายปอนเปนแบบไมโครสตริป (Micro strip feed line) มระนาบกราวด (Ground plane)
                                                                               ี
                                                                               ่
                     เหตุผลทออกแบบสายอากาศโดยใชโมโนโพลแบบขดวกวนแทนทจะเปนโมโนโพลแบบเสนตรง
                             ี่
                                                                ี
                     (Straight monopole) โดยท่วไปเนื่องจากท่ความถ่เรโซแนนซเดียวกันสายอากาศแบบโมโนโพลชนิด
                                                          ี
                                             ั
                     ขดวกวนจะมีความยาวนอยกวาโมโนโพลแบบเสนตรง  จึงทําใหขนาดโดยรวมของสายอากาศมีขนาด
                     เล็กลง นอกจากนี้ยังมเสน Sleeve line ประกบขนานอยู 2 ขางของขดวกวนเพ่อเพมแบนดวิทธ   ของ
                                                                                          ิ
                                                                                       ื
                                                                    
                                       ี
                                                                                          ่
                     สายอากาศใหกวางขึ้น
                                                                          ่
                            ในสวนของสายอากาศแบบ Flexible PCB โดยรวมทออกแบบจะมขนาด 50.30 x 176.34
                                                                                     ี
                                                                          ี
                     มิลลิเมตร ความหนาของ Flexible PCB ชนิด Polyimide 0.3 mm. จํานวน 1 Layer ลายเสนวงจรถก
                                                                                                        ู
                     เคลือบทองเพื่อปองกันผิวหนา ความหนาทองแดงลายวงจร มีขนาด = 1 oz. แบงออกเปน 4 ชั้นชั้นที่ 1
                     Polyimide Substrate  ชั้นที่ 2 Adhesive  ชั้นที่ 3 Copper  ชั้นที่ 4  Adhesive  ชั้นที่ 5 Polyimide
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32